รู้จักจุฬาฯ
การบริหาร
อัตลักษณ์มหาวิทยาลัย
Green University
Sustainability
ติดต่อจุฬาฯ
บริจาคให้จุฬาฯ
หลักสูตร
การสมัครเข้าศึกษา
หน่วยงานการศึกษา
บริการนิสิต
บริการวิชาการ
บริการทางการแพทย์
บริการตรวจวิเคราะห์คุณภาพ
สารสนเทศและการสื่อสาร
พื้นที่สร้างสรรค์
ข่าวสารและความเคลื่อนไหว
วารสารจุฬาฯ
สาระความรู้
ส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาคุณภาพชีวิตด้วยศาสตร์แห่งกายภาพบำบัด ปลอดภัย-ไม่พึ่งยา ศ.ดร.กภ.ประวิตร เจนวรรธนะกุล นายกสภากายภาพบำบัด และอาจารย์ประจำภาควิชากายภาพบำบัด คณะสหเวชศาสตร์ จุฬาฯ
“โรคไอกรน” เป็นโรคติดเชื้อแบคทีเรียของระบบทางเดินหายใจ ทำให้มีภาวะ ไอรุนแรง ไอนานต่อเนื่อง โดยมีความรุนแรงมากในกลุ่มเด็กเล็ก
มิตรเอิร์ธ แพลตฟอร์มออนไลน์โดยอาจารย์จุฬาฯ ให้ความรู้ด้านธรณีวิทยาแบบเข้าใจง่าย พร้อมนวัตกรรมแผนที่ชุดข้อมูลภูมิประเทศแต่ละจังหวัด ชี้จุดเสี่ยง แจ้งเตือนและอัปเดตสถานการณ์ภัยพิบัติ ให้คนในพื้นที่เฝ้าระวังและเตรียมรับมืออย่างทันท่วงที
นิสิตสัตวแพทย์ จุฬาฯ คว้ารางวัลระดับโลกจากผลงาน “คีเฟอร์น้ำเกสรดอกกุหลาบ” เครื่องดื่มสุขภาพมากด้วยสารสำคัญที่ช่วยเสริมภูมิคุ้มกันและต้านอนุมูลอิสระซึ่งเป็นปัจจัยก่อโรคมะเร็ง เตรียมจดสิทธิบัตรและพัฒนาเพื่อการผลิตเชิงพาณิชย์ต่อไป
จากปุ๋ยสู่สูตรลับความงาม ทีมวิจัยจากศูนย์วิทยาศาสตร์ฮาลาล จุฬาฯ พบเปลือกกล้วยหอมทองปทุมมีสารลดการอักเสบจากสิวและฟื้นฟูผิวให้ชุ่มชื้น ต่อยอดเป็นสกินแคร์ “ฟิล์มใสรักษาสิว” เพิ่มทางเลือกผลิตภัณฑ์ธรรมชาติให้ผู้บริโภคและเป็นอีกหนึ่งช่องทางเพิ่มมูลค่าของเหลือทิ้งทางการเกษตร
นักวิจัยจุฬาฯ คิดค้นนวัตกรรมน้ำยาเคลือบและยืดอายุกระดาษได้นาน 15-20 ปี โดยกระดาษไม่เปื่อย สีไม่เปลี่ยน เชื้อราไม่ขึ้น ฝุ่นไม่จับ อีกหนึ่งความพยายามที่จะอนุรักษ์เอกสาร ภาพวาดและภาพถ่ายโบราณ ถูกใจบรรณารักษ์และคนรักหนังสือที่อยากถนอมหนังสือไว้อ่านได้นาน ๆ
อาจารย์คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาฯ แนะใช้เทคโนโลยีการผลิตอาหารสร้างผลิตภัณฑ์ “อาหารเป็นยา” จากสมุนไพรไทย ผักและผลไม้ เพื่อส่งเสริมสุขภาพประชาชน ลดความเสี่ยงโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs) และยังเป็นการเพิ่มรายได้เข้าประเทศด้วยภูมิปัญญาไทยด้านอาหารและการเกษตร
จากงานวิจัย “มวยไทย” โดยศูนย์พหุวัฒนธรรมศึกษาและนวัตกรรมทางสังคม สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาฯ สู่ภาพยนตร์สารคดี “หมัดสั่ง : ฟื้นประวัติมวยไทยบนสังเวียนโลก” ผลงานความร่วมมือของหลายองค์กร ดัน soft power สร้างมูลค่าเศรษฐกิจและอนุรักษ์จิตวิญญาณมวยไทยโบราณที่ใกล้สูญ
หุ่นยนต์สัญชาติไทยพร้อมก้าวเข้าสู่สังคมสูงวัย นิสิตเก่า จุฬาฯ ผู้ก่อตั้งบริษัท CT Asia Robotics เปิดตัว “หุ่นยนต์ดินสอ” รุ่นล่าสุด “Home AI Assistance” ผู้ช่วยประจำบ้านเพื่อการดูแลผู้สูงอายุและผู้ป่วยตลอด 24 ชั่วโมง พร้อมเชื่อมต่อกับโรงพยาบาลในยามฉุกเฉิน
ศูนย์วิทยาศาสตร์ฮาลาล จุฬาฯ พัฒนา Halal Route แอปพลิเคชันชี้พิกัดแหล่งร้านอาหาร ที่พัก มัสยิด ทิศละหมาด และสถานที่ท่องเที่ยวในประเทศไทย ที่สอดคล้องตามหลักการท่องเที่ยววิถีอิสลาม หวังช่วยนักท่องเที่ยวมุสลิมเดินทางในประเทศไทยอย่างสบายใจ และยังเป็นการหนุนผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวให้เติบโต พร้อมรับกลุ่มนักท่องเที่ยวมุสลิมที่มีจำนวนมากขึ้น
จากร้อยกรองสู่ร้อยแก้วสไตล์แนวต่างโลก นวัตกรรมสื่อการเรียนการสอนวรรณคดีไทยของอาจารย์เอกภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ จุฬาฯ ที่ชวนคนรุ่นใหม่พูดคุย ตั้งคำถามและอภิปรายตัวละครและเรื่องราวในวรรณคดีไทย เชื่อมโยงกับชีวิตและปัญหาสังคมในปัจจุบัน เปลี่ยนห้องเรียนวรรณคดีไทยให้มีความร่วมสมัย สนุก และไม่น่าเบื่ออีกต่อไป
นิสิตคณะวิทยาศาสตร์ จุฬาฯ ผุดไอเดียนวัตกรรม “โคโค่แลมป์” อุปกรณ์ครอบหลอดไฟ เบนแสงไฟบริเวณชายหาดที่รบกวนการวางไข่ของเต่าทะเล และช่วยลูกเต่าคลานลงทะเลได้อย่างปลอดภัย นวัตกรรมเพื่อการอนุรักษ์เต่าทะเลและส่งเสริมการอยู่ร่วมกันของมนุษย์และเต่าทะเล
จุฬาฯ ตั้งศูนย์นวัตกรรมการวิจัยและพัฒนาโกโก้ไทยเพื่อความยั่งยืน กู้วิกฤตราคาโกโก้ตกต่ำด้วยความรู้ที่ถูกต้องให้เกษตรกร ตั้งแต่การปลูก เก็บเกี่ยว จนถึงการหมัก ส่งเสริมธุรกิจแปรรูปในพื้นที่ ย้ำโกโก้ไทยยังไปต่อได้ แต่ต้องเน้น “ตลาดคุณภาพ” งานคราฟที่อวดเอกลักษณ์กลิ่นและรสโกโก้ไทย
ร่วมสืบสานมรดกทางวัฒนธรรมและส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต สำนักบริหารศิลปวัฒนธรรม จุฬาฯ แนะนำกิจกรรมและแหล่งเรียนรู้ในจุฬาฯ ที่ทุกคนเข้าถึงได้ ไม่ว่าจะเป็นการเดินชมสถาปัตยกรรม พิพิธภัณฑ์ และเพลิดเพลินกับการแสดงดนตรีไทยและสากล
อาจารย์คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาฯ คิดค้น “เจลทรานสเฟอร์โซม” ทางเลือกใหม่ช่วยลบเลือนรอยแผลเป็นนูน ผลิตภัณฑ์ทำจากสารสำคัญที่พบได้ในพืชบัวบกผนวกเทคนิคพิเศษ ช่วยลบเลือนรอยแผลเป็นนูนและรอยดำได้ผล การันตีด้วยรางวัลเหรียญทองนวัตกรรมระดับนานาชาติ ITEX 2024 และรางวัลพิเศษ จาก Korea Invention Promotion Association
ดื่มด่ำกับวัฒนธรรมอันหลากหลายของไทย ตั้งแต่ภาษาและอาหาร ไปจนถึงจิตวิญญาณและการเยียวยา ด้วยบทความที่น่าสนใจของจุฬาฯ
แพทย์จุฬาฯ เผยพบผู้ป่วยโรคผิวหนังเรื้อรังจากภูมิต้านทานในร่างกายทำงานผิดเพี้ยน ที่เรียกว่า “โรคตุ่มน้ำพอง” เพิ่มขึ้น โดยเฉพาะในกลุ่มผู้สูงอายุ แนะการรักษาด้วยยาชนิดใหม่ พร้อมวิธีดูแลตัวเองเมื่อป่วยเป็นโรคนี้
นักวิจัยจุฬาฯ พัฒนาสตริปเทสเคมีไฟฟ้าตรวจปริมาณสาร THC ในกัญชาที่ทำให้เกิดอาการมึนเมา ชุดตรวจนอกห้องปฏิบัติการที่มีความไวสูง รู้ผลเร็ว แม่นยำ ช่วยผู้บริโภคปลอดภัย ลดความเสี่ยงจากการบริโภคสารที่เป็นโทษต่อร่างกาย
นักวิจัย จุฬาฯ พบหอยทากบกเรืองแสงตัวแรกของไทย และของโลกในรอบ 80 ปี เตรียมถอดรหัสพันธุกรรม ปูทางสู่การวิจัยทางการแพทย์และความรู้ทางวิทยาศาสตร์ด้านการเรืองแสงของหอย
คณะสัตวแพทยศาสตร์ และคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาฯ ร่วมวิจัยและพัฒนานวัตกรรมกระจกตาเทียมสามมิติจากสเต็มเซลล์ เพื่อรักษาแผลลึกที่กระจกตาสุนัข แก้ปัญหาวิธีการรักษาที่ใช้เนื้อเยื่อทดแทนเดิมซึ่งหายากและมีราคาสูง เพื่อให้สุนัขกลับมาสบายตาและมองเห็นชัดเจนอีกครั้ง
มุ่งสู่ “ผู้นำนวัตกรรมสร้างสรรค์สังคมสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน”
จุฬาฯ มีลักษณะของความเป็นพี่น้อง ความอบอุ่น เป็นสังคมที่อยากอนุรักษ์ไว้ ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จุฬาฯ มีลักษณะของความเป็นพี่น้อง ความอบอุ่น เป็นสังคมที่อยากอนุรักษ์ไว้
ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้ เพื่อมอบประสบการณ์การใช้งานที่ดีให้กับท่าน และเพื่อพัฒนาคุณภาพการให้บริการเว็บไซต์ที่ตรงต่อความต้องการของท่านมากยิ่งขึ้น ท่านสามารถทราบรายละเอียดเกี่ยวกับคุกกี้ได้ที่ นโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล และท่านสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า
ท่านสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น
ประเภทของคุกกี้ที่มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้ท่านสามารถใช้เว็บไซต์ได้อย่างเป็นปกติ ท่านไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้
คุกกี้ประเภทนี้จะทำการเก็บข้อมูลพฤติกรรมการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน โดยมีจุดประสงค์คือนำข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้มีคุณภาพ และสร้างประสบการณ์ที่ดีกับผู้ใช้งาน เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด หากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้นี้ เราอาจไม่สามารถวัดผลเพื่อการปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้ดีขึ้นได้ รายละเอียดคุกกี้