คณะเภสัชศาสตร์

Faculty of Phamaceutical Science

แหล่งความรู้ แหล่งอ้างอิง และผู้นำทางปัญญาด้านเภสัชศาสตร์ มุ่งสร้างสรรค์นวัตกรรม เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน

คณะเภสัชศาสตร์

คณะเภสัชศาสตร์

Faculty of Phamaceutical Science

แหล่งความรู้ แหล่งอ้างอิง และผู้นำทางปัญญาด้านเภสัชศาสตร์ มุ่งสร้างสรรค์นวัตกรรม เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน

รู้จักคณะ

คณะเภสัชศาสตร์แห่งแรกของประเทศไทย ร่วมพัฒนาการดูแลการใช้ยาของประชาชนและขับเคลื่อนอุตสาหกรรมยาในประเทศให้มีศักยภาพและนวัตกรรม เปิดสอนระดับปริญญาบัณฑิตและระดับบัณฑิตศึกษา ในสาขาวิชาซึ่งสังกัดภาควิชาต่าง ๆ อาทิ ภาควิชาเภสัชกรรมและเภสัชอุตสาหกรรม อาหารและเภสัชเคมี เภสัชเวทและเภสัชพฤกษศาสตร์ เภสัชวิทยาและสรีรวิทยา ฯลฯ รวมทั้งเปิดสอนหลักสูตรนานาชาติ Pharmaceutical Technology และ Social and Administrative Pharmacy ในระดับบัณฑิตศึกษาด้วย

การศึกษาและหลักสูตร

ภาควิชาของคณะเภสัชศาสตร์ (Faculty of Phamaceutical Science)

คณะเภสัชศาสตร์ประกอบด้วย 7 ภาควิชา ได้แก่

  1. วิทยาการเภสัชกรรมและเภสัชอุตสาหกรรม (Pharmaceutics and Industrial Pharmacy)
  2. เภสัชกรรมปฏิบัติ (Pharmacy Practice)
  3. อาหารและเภสัชเคมี (Food and Pharmaceutical chemistry)
  4. เภสัชเวทและเภสัชพฤกษศาสตร์ (Pharmacognosy and Pharmaceutical Botany)
  5. เภสัชวิทยาและสรีรวิทยา (Pharmacology and Physiology)
  6. ชีวเคมีและจุลชีววิทยา (Biochemistry and Microbiology)
  7. เภสัชศาสตร์สังคมและบริหาร(Social and Administrative Pharmacy)

หลักสูตรปริญญาตรี ที่รับผิดชอบโดยคณะ

เภสัชศาสตรบัณฑิต (ภ.บ.) Doctor of Pharmacy (Pharm. D.) หลักสูตร 6 ปี 2 สาขาวิชา ได้แก่

  1. เภสัชศาสตร์ (Pharmaceutical Sciences)
  2. การบริบาลทางเภสัชกรรม (Pharmaceutical Care)

หลักสูตรปริญญาโท ที่รับผิดชอบโดยคณะ

1. เภสัชศาสตรมหาบัณฑิต (ภ.ม.) Master of Science in Pharmacy (M.Sc. in Pharm.) 3 สาขาวิชาได้แก่

  • 1.1 เภสัชกรรมอุตสาหการ (Industrial Pharmacy)
  • 1.2 การบริบาลทางเภสัชกรรม (Clinical Pharmacy)
  • 1.3 เภสัชวิทยาและพิษวิทยา (Pharmacology and Toxicology)

2. วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วท.ม.) Mater of Science (M.Sc.) 4 สาขาวิชา ได้แก่

  • 2.1 วิทยาศาสตร์เครื่องสำอาง (Cosmetic Science)
  • 2.2 เภสัชศาสตร์และเทคโนโลยี (Pharmaceutical Sciences and Technology)
  • 2.3 เภสัชศาสตร์สังคมและบริหาร (นานาชาติ) (Social and Administrative Pharmacy)
  • 2.4 การวิจัยสำหรับธุรกิจ (Research For Enterprise)

หลักสูตรปริญญาเอก ที่รับผิดชอบโดยคณะ

1. เภสัชศาสตรดุษฎีบัณฑิต (ภ.ด.) Doctor of Philosophy (Ph.D.) 3 สาขาวิชา ได้แก่

  • 1.1 เภสัชกรรมอุตสาหการ (Industrial Pharmacy)
  • 1.2 การบริบาลทางเภสัชกรรม (Clinical Pharmacy)
  • 1.3 เภสัชวิทยาและพิษวิทยา (Pharmacology and Toxicology)

2. วิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิต (วท.ด.) Doctor of Philosophy (Ph.D.) 2 สาขาวิชาได้แก่

  • 2.1 เภสัชศาสตร์และเทคโนโลยี (Pharmaceutical Sciences and Technology)
  • 2.2 เภสัชศาสตร์สังคมและบริหาร (นานาชาติ) (Social and Administrative Pharmacy)

หน่วยบริการสังคม

ศูนย์บริการเทคโนโลยีเภสัชอุตสาหกรรม

ขอบเขตการให้บริการ

  • Quality control of pharmaceuticals, herbal medicine, dietary supplements and cosmetics
  • Pharmaceutical equivalence
  • Dissolution / Release profile analysis
  • Stability studies
  • Development and Validation of analytical methods
  • Research and Development of drug-products
  • Training and consultation
  • Microbiological testing

โทรศัพท์ 0 2218 8394
โทรสาร 0 2254 7279
อีเมล ptsc.chula@gmail.com
เว็บไซต์ www.ptsc.pharm.chula.ac.th

ติดต่อคณะ

คณะเภสัชศาสตร์

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

254 ถนนพญาไท แขวงวังใหม่ เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330

โทรศัพท์
0 2218 8257

Email
info@pharm.chula.ac.th

เว็บไซต์
www.pharm.chula.ac.th

จุฬาฯ สนับสนุนให้อาจารย์ทำงานวิจัย นับว่าเป็นสิ่งที่ดีมากต่อทั้งอาจารย์ นิสิต รวมถึงภาคประชาสังคม

รองศาสตราจารย์ ดร.สุชนา ชวนิชย์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้ เพื่อมอบประสบการณ์การใช้งานที่ดีให้กับท่าน และเพื่อพัฒนาคุณภาพการให้บริการเว็บไซต์ที่ตรงต่อความต้องการของท่านมากยิ่งขึ้น ท่านสามารถทราบรายละเอียดเกี่ยวกับคุกกี้ได้ที่ นโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล และท่านสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว

ท่านสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

อนุญาตทั้งหมด
จัดการความเป็นส่วนตัว
  • คุกกี้ที่จำเป็น
    เปิดใช้งานตลอด

    ประเภทของคุกกี้ที่มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้ท่านสามารถใช้เว็บไซต์ได้อย่างเป็นปกติ ท่านไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้

  • คุกกี้เพื่อการวิเคราะห์

    คุกกี้ประเภทนี้จะทำการเก็บข้อมูลพฤติกรรมการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน โดยมีจุดประสงค์คือนำข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้มีคุณภาพ และสร้างประสบการณ์ที่ดีกับผู้ใช้งาน เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด หากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้นี้ เราอาจไม่สามารถวัดผลเพื่อการปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้ดีขึ้นได้
    รายละเอียดคุกกี้

บันทึกการตั้งค่า