รู้จักจุฬาฯ
การบริหาร
อัตลักษณ์มหาวิทยาลัย
Green University
Sustainability
ติดต่อจุฬาฯ
บริจาคให้จุฬาฯ
หลักสูตร
การสมัครเข้าศึกษา
หน่วยงานการศึกษา
บริการนิสิต
บริการวิชาการ
บริการทางการแพทย์
บริการตรวจวิเคราะห์คุณภาพ
สารสนเทศและการสื่อสาร
พื้นที่สร้างสรรค์
ข่าวสารและความเคลื่อนไหว
วารสารจุฬาฯ
สาระความรู้
Archive
หมวดหมู่: COVID-19
เภสัช จุฬาฯ แนะผู้บริโภคใส่ใจ “ฉลากยา” เพื่อเลือกและใช้ยาฟ้าทะลายโจรอย่างได้ผลและปลอดภัย พร้อมแนะภาครัฐแก้ไขฉลาก ควบคุมราคายาสมุนไพรที่ช่วยตอบโจทย์วิกฤตโรคระบาดในปัจจุบัน
อาจารย์วิศวฯ จุฬาฯ เสนอการจัดการหน้ากากอนามัยและชุดตรวจ ATK ที่ใช้แล้ว ลดและเลือกใช้หน้ากากแบบใช้ซ้ำได้ แยกขยะติดเชื้อให้เหมาะสมก่อนนำส่งสู่ระบบการกำจัดที่ไม่สร้างมลพิษ ลดปัญหาขยะติดเชื้อล้นโลก
นักวิจัยจุฬาฯ เปิดตัวนวัตกรรมน้ำยาฆ่าเชื้อไวรัสและแบคทีเรีย ทดแทนสเปรย์แอลกอฮอล์ ฆ่าเชื้อโควิดรวดเร็ว ถนอมผิว รับรองคุณภาพด้วยสิทธิบัตรระดับชาติ พร้อมได้รับคัดเลือกเป็นนวัตกรรมเพื่อสุขภาพ ของที่ระลึกในงานมหกรรมงานวิจัยแห่งชาติ 2564
การตรวจสารพันธุกรรมของไวรัสแบบ 3 ยีนซึ่งครอบคลุมวงจรชีวิตของไวรัส ทำให้มีความไวในการตรวจสูง ไม่จำเป็นต้องใช้เครื่องมือในการตรวจที่ยุ่งยาก ไม่มีราคาแพงเหมือน Real Time PCR สามารถตรวจเชื้อโควิด-19 ได้ทั้งจากโพรงจมูก ลำคอ รวมถึงน้ำลายและวัตถุต่างๆ ในสภาพแวดล้อมที่ปนเปื้อนเชื้อโควิด-19 จึงเหมาะสำหรับการลงพื้นที่ไปตรวจกลุ่มเสี่ยงในชุมชน โรงเรียน รวมถึงสถานประกอบการต่างๆ
อาจารย์สาธิตจุฬาฯ เผยเคล็ดลับการสอนออนไลน์ให้สนุก ยืดหยุ่น สร้างบรรยากาศเป็นกันเอง เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ทั้งครูและนักเรียนในชีวิตวิถีใหม่ที่ท้าทาย
คณะสหเวชศาสตร์ จุฬาฯ ร่วมกับมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เสนอแนวทางสร้าง “ครัวต้นแบบ” พร้อมสื่อหลากหลาย ให้ความรู้ด้านโภชนาการและความปลอดภัยของอาหารสำหรับถวายพระสงฆ์ แนะศาสนิกชนทำบุญด้วยการสร้างโรงครัวที่ถูกสุขลักษณะเพื่อสงฆ์สุขภาพดี ห่างไกลโรค
สำเร็จด้วยดีกับ Quick MBA for SMEs โครงการสร้างสรรค์เพื่อสังคมจากจุฬาฯ เสิร์ฟความรู้ถึงบ้านให้ผู้ประกอบการSMEs 4 ประเภทธุรกิจอาหาร โรงแรมและที่พัก สุขภาพ และแฟชั่น ปรับตัวและอยู่รอดในวิกฤตโรคโควิด-19 รับชมรับฟังย้อนหลังเพื่อเสริมพลังธุรกิจได้แล้ววันนี้
คณะแพทยศาสตร์และคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาฯ Smile Robotics และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ร่วมพัฒนานวัตกรรมโคม UV-C “น้องไฟฉาย รุ่นที่ 3” ฆ่าและทำลายเชื้อไวรัส COVID-19 และเชื้อโรคอื่นๆ ได้ 99.99% ภายใน 3 นาที พร้อมสร้างความมั่นใจให้เจ้าหน้าที่ด่านหน้าแล้ว
ผศ.ดร.ชนวีร์ สุภัทรเกียรติ อาจารย์ประจำสาขาวิชาการเงิน สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจ ศศินทร์ แห่งจุฬาฯ และนายพงษ์สุธีร์ ทองเกลี้ยง นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ ศูนย์สารสนเทศ กรมควบคุมโรคนำเสนอบทความ ‘มาตรการ 4 เร่ง เพื่อลดการระบาดวิกฤติการณ์โควิด 19 ประเทศไทย’ ชี้การบังคับใช้มาตรการล็อคดาวน์อย่างจริงจังและเข้มข้นสามารถที่จะควบคุมการระบาดลงได้จริง ย้ำหากไม่เข้มงวดในมาตรการ ประชาชนจะเสียชีวิตในปริมาณที่สูงภายในเวลาอันรวดเร็ว พร้อมเสนอ ‘มาตรการ 4 เร่ง’ เพื่อช่วยลดการระบาดของวิกฤติการณ์โควิด 19 ประเทศไทย ประกอบด้วย 4 มาตรการดังนี้
อาจารย์ด้านการตลาดจากกคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาฯ เตือนผู้ประกอบการธุรกิจ “อย่าทำ” 3 สิ่งและอย่าเพิ่งถอดใจ วิกฤตโรคโควิด-19 ระลอกสี่จะผ่านไปอีกไม่นาน
อาจารย์และนิสิตภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาฯ พัฒนาเครื่องมือตรวจเชื้อโควิด-19 จากกลิ่นสารเคมี ที่จำเพาะของแบคทีเรียที่อยู่ในเหงื่อได้สำเร็จเป็นครั้งแรก ใช้ง่าย เก็บตัวอย่าง 15 นาที รู้ผลใน 30 วินาที เริ่มทดลองตรวจคัดกรองผู้ติดเชื้อตามชุมชนแล้ว
วิศวฯ จุฬาฯ ออกไอเดียรับมือวิกฤตเตียงขาด ผู้ป่วยล้น ด้วยการมอบ “กล่องรอดตาย” ตัวช่วยผู้ป่วยโควิด-19 ระหว่างรอเตียง พร้อมอุปกรณ์สำคัญและแนวทางการดูแลตนเองที่บ้าน รวมถึงช่องทางการสื่อสารเพื่อติดตามอาการกับเจ้าหน้าที่ ปลดล็อกความกังวล เพื่อผู้ป่วยและสังคมรอดไปด้วยกัน
เภสัชฯ จุฬาฯ เตรียมทดสอบ “วัคซีนใบยา” ป้องกันโควิด-19 วัคซีนสัญชาติไทยแท้โดย “ใบยาไฟโตฟาร์ม” สตาร์ทอัพสังกัดจุฬาฯ สร้างต้นแบบโรงงานผลิตวัคซีนจากพืชสำหรับใช้ในมนุษย์แห่งแรกในเอเชีย วางแผนพิสูจน์ประสิทธิภาพกับอาสาสมัครภายในเดือนกันยายน 2564 พร้อมกับวิจัยวัคซีนรุ่น 2 รองรับไวรัสกลายพันธุ์
นักวิจัยจุฬาฯ เผยพนันออนไลน์พุ่งช่วงโควิด 19 เป็นห่วงเยาวชน เตือนรัฐหาวิธีรับมือโดยเร็ว
การระบาดของโควิด-19 ในประเทศไทยที่มีผู้ติดเชื้อเพิ่มขึ้นจากการเกิดคลัสเตอร์ใหม่ๆ คณาจารย์สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจ ศศินทร์ฯ นำเสนอวิธีที่จะลดการระบาดของโควิด-19 อย่างยั่งยืน ในโครงการศึกษาและค้นหาเทคโนโลยีที่สามารถช่วยให้ผู้ประกอบอาชีพที่เว้นระยะห่างทางสังคมได้ยาก สามารถประยุกต์ใช้และเว้นระยะห่างทางสังคมได้อย่างเร่งด่วนและเหมาะสม โดยได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.)
สถานการณ์โควิด-19 จำกัดพื้นที่ของทุกคน แต่จินตนาการไม่ได้ถูกจำกัดไปด้วย อาจารย์จุฬาฯ แนะผู้ปกครองใช้เวลาที่อยู่ติดบ้านมากขึ้น เลือกสรรกิจกรรมสัมพันธ์ เสริมสร้างพัฒนาการเด็กอย่างสมวัยและปลอดภัย
จุฬาฯ มีลักษณะของความเป็นพี่น้อง ความอบอุ่น เป็นสังคมที่อยากอนุรักษ์ไว้ ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จุฬาฯ มีลักษณะของความเป็นพี่น้อง ความอบอุ่น เป็นสังคมที่อยากอนุรักษ์ไว้
ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้ เพื่อมอบประสบการณ์การใช้งานที่ดีให้กับท่าน และเพื่อพัฒนาคุณภาพการให้บริการเว็บไซต์ที่ตรงต่อความต้องการของท่านมากยิ่งขึ้น ท่านสามารถทราบรายละเอียดเกี่ยวกับคุกกี้ได้ที่ นโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล และท่านสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า
ท่านสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น
ประเภทของคุกกี้ที่มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้ท่านสามารถใช้เว็บไซต์ได้อย่างเป็นปกติ ท่านไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้
คุกกี้ประเภทนี้จะทำการเก็บข้อมูลพฤติกรรมการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน โดยมีจุดประสงค์คือนำข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้มีคุณภาพ และสร้างประสบการณ์ที่ดีกับผู้ใช้งาน เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด หากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้นี้ เราอาจไม่สามารถวัดผลเพื่อการปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้ดีขึ้นได้ รายละเอียดคุกกี้