รู้จักจุฬาฯ
การบริหาร
อัตลักษณ์มหาวิทยาลัย
Green University
Sustainability
ติดต่อจุฬาฯ
บริจาคให้จุฬาฯ
หลักสูตร
การสมัครเข้าศึกษา
หน่วยงานการศึกษา
บริการนิสิต
บริการวิชาการ
บริการทางการแพทย์
บริการตรวจวิเคราะห์คุณภาพ
สารสนเทศและการสื่อสาร
พื้นที่สร้างสรรค์
ข่าวสารและความเคลื่อนไหว
วารสารจุฬาฯ
สาระความรู้
จุฬาฯ ในสื่อ
24 กรกฎาคม 2566
ไทยรัฐ
จากการเสวนาวิชาการเรื่อง “ยุคเอไอได้มาถึงแล้ว ประเทศไทยพร้อมรับมือไหม?” จัดโดยราชบัณฑิตยสภาร่วมกับสถาบันนวัตกรรมบูรณาการแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม 2566 ณ ห้อง 801 อาคารจามจุรี 10 จุฬาฯ ศ.ดร.ชิดชนก เหลือสินทรัพย์ ราชบัณฑิตและอาจารย์คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาฯ กล่าวว่า ประเทศไทยมีการตื่นตัวด้าน AI จากการวิจัยหรือการประชุมงานวิจัยจะพบว่าคณาจารย์ นิสิตนักศึกษามีความพร้อมและอยากทำวิจัยด้าน AI มาก แต่ปัญหาที่พบคือ ส่วนใหญ่จะเป็นการประยุกต์ใช้ AI ไม่ได้เป็นการวิจัยทฤษฎีใหม่ๆ หรือปัญหาใหม่ๆในด้านของรัฐบาลนั้นมีความตื่นตัวด้าน AIจะเห็นได้ว่าหน่วยงานของรัฐมีแผนปฏิบัติการและยุทธศาสตร์ แต่เป็นแผนและยุทธศาสตร์ด้านการประยุกต์สิ่งที่มีอยู่ ไม่ได้สร้างของใหม่ จุดที่เราต้องแก้ไข เช่น กำหนดสิ่งที่เราต้องการแก้ไขและระยะเวลาการแก้ไขที่ชัดเจนอย่างไรก็ตามในภาคของประชาชนก็มีการใช้ AI แต่ไม่รู้ว่าคืออะไร บางคนใช้ในทางที่สร้างความเดือดร้อน รวมทั้งไม่รู้เบื้องหลังว่าโปรแกรมทำงานอย่างไร และมีอันตรายด้านใดบ้าง และกลัวว่า AI จะมาแย่งงานทำ ซึ่งในการพัฒนา AI นั้นสิ่งสำคัญขึ้นอยู่ที่คน อย่างไรก็ตามจะเห็นว่าทุกฝ่ายตื่นตัวด้านการใช้ AI แต่ต่างฝ่ายต่างทำ ไม่รวมตัวกันพัฒนา ซึ่งควรมีหน่วยงานเชื่อมทุกฝ่ายให้มาทำงานแลกเปลี่ยนหรือแบ่งปันข้อมูลร่วมกัน
จุฬาฯ สนับสนุนให้อาจารย์ทำงานวิจัย นับว่าเป็นสิ่งที่ดีมากต่อทั้งอาจารย์ นิสิต รวมถึงภาคประชาสังคม รองศาสตราจารย์ ดร.สุชนา ชวนิชย์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จุฬาฯ สนับสนุนให้อาจารย์ทำงานวิจัย นับว่าเป็นสิ่งที่ดีมากต่อทั้งอาจารย์ นิสิต รวมถึงภาคประชาสังคม
รองศาสตราจารย์ ดร.สุชนา ชวนิชย์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้ เพื่อมอบประสบการณ์การใช้งานที่ดีให้กับท่าน และเพื่อพัฒนาคุณภาพการให้บริการเว็บไซต์ที่ตรงต่อความต้องการของท่านมากยิ่งขึ้น ท่านสามารถทราบรายละเอียดเกี่ยวกับคุกกี้ได้ที่ นโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล และท่านสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า
ท่านสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น
ประเภทของคุกกี้ที่มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้ท่านสามารถใช้เว็บไซต์ได้อย่างเป็นปกติ ท่านไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้
คุกกี้ประเภทนี้จะทำการเก็บข้อมูลพฤติกรรมการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน โดยมีจุดประสงค์คือนำข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้มีคุณภาพ และสร้างประสบการณ์ที่ดีกับผู้ใช้งาน เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด หากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้นี้ เราอาจไม่สามารถวัดผลเพื่อการปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้ดีขึ้นได้ รายละเอียดคุกกี้