รู้จักจุฬาฯ
การบริหาร
อัตลักษณ์มหาวิทยาลัย
Green University
Sustainability
ติดต่อจุฬาฯ
บริจาคให้จุฬาฯ
หลักสูตร
การสมัครเข้าศึกษา
หน่วยงานการศึกษา
บริการนิสิต
บริการวิชาการ
บริการทางการแพทย์
บริการตรวจวิเคราะห์คุณภาพ
สารสนเทศและการสื่อสาร
พื้นที่สร้างสรรค์
ข่าวสารและความเคลื่อนไหว
วารสารจุฬาฯ
สาระความรู้
20 กุมภาพันธ์ 2018
งานวิจัยด้านนโยบาย
ร่วมมือกับ:กระทรวงสาธารณสุข สมาคมผู้วิจัยและผลิตเภสัชภัณฑ์
เกี่ยวกับโครงการ:สำหรับทางเลือกที่หนึ่งนั้น ถ้ารัฐบาลสามารถแสวงหาแหล่งเงินทุนใหม่เพิ่มเติมและเป็นผู้รับภาระของผู้ให้บริการสุขภาพทั้งหมดแล้ว รัฐบาลจะต้องแบกรับภาระทางการเงินอย่างมาก และตามการกำหนดการพยากรณ์ความจำเริญเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศไทยแล้วจะพบว่า ในระยะเวลาตั้งแต่ปัจจุบันถึงอีกห้าปีข้างหน้ารัฐบาลไม่สามารถที่จะตอบสนองต่อต้นทุนทางการเงินที่จำเป็นต้องใช้ตามต้นทุนทางด้านสุขภาพที่เพิ่มมากขึ้นในการเติมเต็มส่วนของการให้บริการสุขภาพของผู้ให้บริการสุขภาพได้ ดังนั้น ในระยะสั้น ควรเลือกทางเลือกที่สองที่ให้ผู้รับบริการมีการร่วมจ่ายเมื่อเข้ารับบริการสุขภาพ ยกเว้นกลุ่มผู้ด้อยโอกาส ส่วนในระยะยาว ควรเลือกทางเลือกที่สาม คือ ระบบประกันสุขภาพที่ผสมผสานกับระบบการอุดหนุนโดยรัฐ โดยต้องมีการจัดทำชุดสิทธิประโยชน์หลัก (Core package) และมีชุดสิทธิประโยชน์เพิ่มเติม (Supplementary Package) ซึ่งระบบประกันสุขภาพทั้งสามระบบ จะมีชุดสิทธิประโยชน์หลักที่เหมือนกัน โดยรัฐบาลควรรับภาระการจ่ายแบบเต็มจำนวนสำหรับชุดสิทธิประโยชน์หลัก แต่ในส่วนของชุดสิทธิประโยชน์เพิ่มเติม ผู้เข้ารับบริการในแต่ละระบบควรจ่ายเต็มจำนวนหรือจ่ายบางส่วนในระบบประกันสุขภาพ โดยขึ้นอยู่กับการจัดการระบบของระบบประกันสุขภาพทั้งสามระบบ อย่างไรก็ตามสำหรับทางเลือกที่สามจะเป็นไปได้นั้น ต้องขึ้นอยู่กับเงื่อนไขต่างๆ เช่น
1. อัตราความจำเริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ที่ทำให้รัฐบาลสามารถรับภาระทางการเงินได้ 2. ชุดสิทธิประโยชน์หลัก ต้องครอบคลุมการรักษาที่จำเป็น และที่ไม่ทำให้เกิดการล้มละลายทางการเงิน ควบคู่ไปกับการควบคุมคุณภาพ และ 3. ประชาชนต้องเข้าใจและตระหนักถึงความสำคัญของระบบการประกันสุขภาพ ไม่จำเป็นต้องพึ่งพิงรัฐแต่ฝ่ายเดียว อย่างไรก็ตาม ผลการศึกษามีข้อจำกัดหลายประการ การนำไปใช้จึงต้องเข้าใจข้อจำกัดดังกล่าวข้างต้นด้วย
จุฬาฯ สนับสนุนให้อาจารย์ทำงานวิจัย นับว่าเป็นสิ่งที่ดีมากต่อทั้งอาจารย์ นิสิต รวมถึงภาคประชาสังคม รองศาสตราจารย์ ดร.สุชนา ชวนิชย์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จุฬาฯ สนับสนุนให้อาจารย์ทำงานวิจัย นับว่าเป็นสิ่งที่ดีมากต่อทั้งอาจารย์ นิสิต รวมถึงภาคประชาสังคม
รองศาสตราจารย์ ดร.สุชนา ชวนิชย์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้ เพื่อมอบประสบการณ์การใช้งานที่ดีให้กับท่าน และเพื่อพัฒนาคุณภาพการให้บริการเว็บไซต์ที่ตรงต่อความต้องการของท่านมากยิ่งขึ้น ท่านสามารถทราบรายละเอียดเกี่ยวกับคุกกี้ได้ที่ นโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล และท่านสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า
ท่านสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น
ประเภทของคุกกี้ที่มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้ท่านสามารถใช้เว็บไซต์ได้อย่างเป็นปกติ ท่านไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้
คุกกี้ประเภทนี้จะทำการเก็บข้อมูลพฤติกรรมการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน โดยมีจุดประสงค์คือนำข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้มีคุณภาพ และสร้างประสบการณ์ที่ดีกับผู้ใช้งาน เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด หากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้นี้ เราอาจไม่สามารถวัดผลเพื่อการปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้ดีขึ้นได้ รายละเอียดคุกกี้