รู้จักจุฬาฯ
การบริหาร
อัตลักษณ์มหาวิทยาลัย
Green University
Sustainability
ติดต่อจุฬาฯ
บริจาคให้จุฬาฯ
หลักสูตร
การสมัครเข้าศึกษา
หน่วยงานการศึกษา
บริการนิสิต
บริการวิชาการ
บริการทางการแพทย์
บริการตรวจวิเคราะห์คุณภาพ
สารสนเทศและการสื่อสาร
พื้นที่สร้างสรรค์
ข่าวสารและความเคลื่อนไหว
วารสารจุฬาฯ
สาระความรู้
20 กุมภาพันธ์ 2018
งานวิจัยด้านเศรษฐกิจ
ดำเนินโครงการโดย: คณะวิศวกรรมศาสตร์
ร่วมมือกับ: กลุ่มบริษัทบริษัทที่ต้องการผลิตและนำผลิตภัณฑ์เครื่องมือแพทย์ออกสู่ตลาด
เกี่ยวกับโครงการ: เป็นที่รู้กันว่าบริษัทสตาร์ทอัพในปัจจุบันได้รับความสนใจจากสังคมทั่วโลกเป็นอย่างมาก และได้รับการยอมรับอย่างกว้างว่าเป็นปัจจัยหนึ่งที่สามารถขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศได้ ทั้งนี้การเกิดบริษัทสตาร์ทอัพที่ประสบความสำเร็จจนมีผลกระทบกับประเทศได้ 1 บริษัทนั้นต้องมีบริษัทสตาร์ทอัพอื่นๆล้มตายและต้องปิดบริษัทไปเป็นจำนวนมากกว่า 5 เท่า โดยเฉพาะบริษัทอุตสาหกรรมทางการแพทย์ เป็นที่รู้กันโดยทั่วว่าบริษัทสตาร์ทอัพในกลุ่มอุตสาหกรรมทางการแพทย์จำเป็นต้องใช้เงินทุนหมุนเวียนมหาศาลจึงจะสามารถอยู่รอด สร้างกำไร และมีความสามาถในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศได้ เมื่อวิเคราะห์ในรายละเอียดของอุตสาหกรรมทางการแพทย์ พบว่าการพัฒนาเครื่องมือแพทย์เป็นสิ่งที่บริษัทสตาร์ทอัพทั่วโลกให้ความสนใจเป็นอย่างมาก เนื่องจากในการพัฒนายา บริษัทสตาร์ทอัพมีขีดความสามารถในการแข่งขันไม่เพียงพอที่จะสู้กับบริษัทผู้ผลิตยาขนาดใหญ่ที่อยู่ในอุตสาหกรรม อย่างไรก็ตามความล้มเหลวของบริษัทสตาร์ทอัพในอุตสาหกรรมนี้ยังคงมีสูง รวมถึงบริษัทสตาร์ทอัพเหล่านี้ไม่สามารถเติบโตต่อไปได้หลังจากผ่านขั้นตอนการออกแบบต้นแบบของผลิตภัณฑ์เนื่องจากขาดองค์ความรู้ในการดำเนินการเรื่องการนำผลิตภัณฑ์ออกสู่ตลาดอย่างมีประสิทธิภาพ งานวิจัยนี้จึงต้องการศึกษาความล้มเหลวของบริษัทสตาร์ทอัพเครื่องมือแพทย์เพื่อหาดัชนีสำคัญที่มีผลกระทบต่อความล้มเหลวดังกล่าว และนำมาสร้างเป็นแพลตฟอร์มหรือเส้นทางสู่ความสำเร็จในการนำผลิตภัณฑ์ออกสู่ตลาด
จุฬาฯ สนับสนุนให้อาจารย์ทำงานวิจัย นับว่าเป็นสิ่งที่ดีมากต่อทั้งอาจารย์ นิสิต รวมถึงภาคประชาสังคม รองศาสตราจารย์ ดร.สุชนา ชวนิชย์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จุฬาฯ สนับสนุนให้อาจารย์ทำงานวิจัย นับว่าเป็นสิ่งที่ดีมากต่อทั้งอาจารย์ นิสิต รวมถึงภาคประชาสังคม
รองศาสตราจารย์ ดร.สุชนา ชวนิชย์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้ เพื่อมอบประสบการณ์การใช้งานที่ดีให้กับท่าน และเพื่อพัฒนาคุณภาพการให้บริการเว็บไซต์ที่ตรงต่อความต้องการของท่านมากยิ่งขึ้น ท่านสามารถทราบรายละเอียดเกี่ยวกับคุกกี้ได้ที่ นโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล และท่านสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า
ท่านสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น
ประเภทของคุกกี้ที่มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้ท่านสามารถใช้เว็บไซต์ได้อย่างเป็นปกติ ท่านไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้
คุกกี้ประเภทนี้จะทำการเก็บข้อมูลพฤติกรรมการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน โดยมีจุดประสงค์คือนำข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้มีคุณภาพ และสร้างประสบการณ์ที่ดีกับผู้ใช้งาน เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด หากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้นี้ เราอาจไม่สามารถวัดผลเพื่อการปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้ดีขึ้นได้ รายละเอียดคุกกี้