รู้จักจุฬาฯ
การบริหาร
อัตลักษณ์มหาวิทยาลัย
Green University
Sustainability
ติดต่อจุฬาฯ
บริจาคให้จุฬาฯ
หลักสูตร
การสมัครเข้าศึกษา
หน่วยงานการศึกษา
บริการนิสิต
บริการวิชาการ
บริการทางการแพทย์
บริการตรวจวิเคราะห์คุณภาพ
สารสนเทศและการสื่อสาร
พื้นที่สร้างสรรค์
ข่าวสารและความเคลื่อนไหว
วารสารจุฬาฯ
สาระความรู้
จุฬาฯ นำร่อง Generative AI ในการเรียนการสอน แนะยุทธศาสตร์ชาติ ส่งเสริม AI Literacyให้คนเข้าใจและใช้ AI เพิ่มประสิทธิภาพงาน ย้ำมนุษย์ต้องเพิ่มศักยภาพและสมรรถนะตัวเอง ก่อนถูก AI ทดแทนและทิ้งไว้ข้างหลัง
พื้นที่ปลอดภัย กิจกรรมศิลปะบำบัด ความเข้าใจเรื่องการเคารพและศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ – ส่วนหนึ่งของข้อเสนอแนวทางลดความรุนแรงในโรงเรียนและสังคม จากโครงการวิจัย “สังคมไทยไร้ความรุนแรง” โดยคณาจารย์จากหลายคณะในจุฬาฯ
Design4Thailand ชมรมของนิสิตสถาบันนวัตกรรมบูรณาการ จุฬาฯ จับมือ 3 ชุมชน พัฒนาแผนธุรกิจด้วยหลัก Design thinking หวังตอบโจทย์ความเป็นธรรมและยั่งยืนของสังคมและสิ่งแวดล้อม
นักวิจัยจุฬาฯ วิจัยเพิ่มมูลค่าของเหลือทางการเกษตรจากโรงงานอุตสาหกรรม แปรรูปกากมันสำปะหลังและกากตะกอนจากระบบบำบัดน้ำเสียเป็นปุ๋ยหมักชีวภาพ ทดแทนการใช้ปุ๋ยเคมี พร้อมคิดค้นหัวเชื้อจุลินทรีย์สูตรพิเศษ เพิ่มธาตุอาหารที่จำเป็นต่อพืช
แพทย์ จุฬาฯ วิจัย เผยคนไทยจำนวนไม่น้อยมียีนโรคใหลตาย แนะผู้มีประวัติครอบครัว “หลับไม่ตื่น” สังเกตอาการเสี่ยง และตรวจวินิจฉัยเพื่อรักษาแต่เนิ่นๆ โดยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ พร้อมปรับพฤติกรรมเพื่อลดโอกาสการเสียชีวิต
“อินไซท์วัดโพธิ์” นวัตกรรมเพื่อสังคมโดยอาจารย์สถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาฯ แอปพลิเคชันที่เป็นเหมือนเพื่อนร่วมทาง ช่วยวางแผนการเที่ยววัดโพธิ์ ตั้งแต่เดินทางอย่างไร มีอะไรที่น่าสนใจบ้าง และฟีเจอร์สนุก ๆ ให้เล่น เช่น ผังวัดโพธิ์แบบเสมือนจริง (AR) เกมตามหายักษ์วัดโพธิ์ และความรู้อื่น ๆ อีกเพียบ
ศศินทร์ จุฬาฯ เปิดนโยบาย “IDEALS” สร้างวัฒนธรรมยอมรับความหลากหลายและการมีส่วนร่วมอย่างเท่าเทียมและเสมอภาคในองค์กร ผนึกกำลังกับ Steps ตั้ง Neurodiversity at Work Research Center (NWRC) ศูนย์วิจัยแห่งแรกในประเทศไทย มุ่งเสริมศักยภาพและโอกาสให้บุคคลที่มีความแตกต่างทางการรับรู้ เข้าถึงงานเพื่อร่วมสร้างสังคมธุรกิจที่ยั่งยืน
อาจารย์สัตวแพทย์ จุฬาฯ พัฒนาชุดทดสอบภาวะภูมิแพ้ไรฝุ่นในสุนัขที่มีภาวะภูมิแพ้ผิวหนังชนิดอาโทปี ระบุสารก่อภูมิแพ้ได้แม่นยำเพื่อวางแผนการรักษาอย่างตรงจุด การันตีความสำเร็จด้วยรางวัลเหรียญทองจากการประกวดนวัตกรรมที่สวิตเซอร์แลนด์
นายสัตวแพทย์อลงกรณ์ มหรรณพ หรือ “หมอช้าง” ผู้อุทิศตัวดูแลสวัสดิภาพช้างไทยมาตลอด 4 ปี แจงสารพัดปัญหาของช้างบ้านและช้างป่าของไทย พร้อมชี้แนวทางแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบและยั่งยืน ที่ทุกภาคส่วนโดยเฉพาะธุรกิจการท่องเที่ยวและประชาชนช่วยกันได้ ไม่เพียงเพื่อความอยู่รอดของช้างและระบบนิเวศ แต่เพื่อเศรษฐกิจชุมชนและมนุษยชาติ
ครั้งแรกของไทย! อาจารย์คณะเภสัชฯ จุฬาฯ ประสบความสำเร็จพัฒนาเทคโนโลยีผลิตแอนติบอดี้จากพืชยาสูบ มีผลยับยั้งการเติบโตของเซลล์มะเร็งในสัตว์ทดลอง หนึ่งในความหวังการเข้าถึงยาและการรักษาโรคมะเร็งที่มีประสิทธิภาพสูงในราคาที่ถูกลง
ทีมนักวิจัยคณะแพทยศาสตร์และคณะวิทยาศาสตร์ จุฬาฯ พบสารเคมีในกลิ่นเหงื่อบ่งบอกภาวะความเครียดสูงและซึมเศร้าได้ นำร่องศึกษานักผจญเพลิงในกรุงเทพฯ ผลทดสอบแม่นยำถึง 90% พร้อมเดินหน้าตรวจคัดกรองสุขภาพจิตในกลุ่มอาชีพเครียดจัดและเสี่ยงสูงอื่น ๆ หวังลดปัญหาสุขภาพจิตและความรุนแรงในสังคม
คำแนะนำและหลักภาษาไทยแบบเข้าใจง่ายสำหรับผู้ที่คิดจะเรียนภาษาไทยอย่างจริงจัง หรือแม้แต่เจ้าของภาษาเองก็จะได้รู้เกร็ดเล็ก ๆ น้อย ๆ เกี่ยวกับภาษาไทย ที่จะทำให้เห็นว่าภาษาไทยนั้นไม่ซับซ้อนอย่างที่คิด แถมเป็นภาษาที่มีเสน่ห์ สะท้อนความเป็นคนสนุกสนานและช่างคิดสร้างสรรค์ของคนไทยด้วย
มะเร็งปอด ยิ่งตรวจพบไว โอกาสรักษาหายยิ่งมีมาก แพทย์ จุฬาฯ แนะประชาชนตรวจสุขภาพปอดสม่ำเสมอ พร้อมแจงเทคโนโลยีการตรวจรักษาและยาที่ช่วยยืดอายุและประคองคุณภาพชีวิตให้ผู้ป่วย
การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ปี 2566 มีความหมายอย่างยิ่งต่ออนาคตชาติ อาจารย์รัฐศาสตร์ จุฬาฯ แนะการเตรียมตัว เตรียมความคิดก่อนเดินหน้า เข้าคูหาวันอาทิตย์ที่ 14 พ.ค. นี้
อธิการบดี จุฬาฯ ประกาศเจตนารมณ์เดินหน้าลดก๊าซเรือนกระจกในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตั้งเป้าการปล่อยก๊าซเรือนกระจกสุทธิเป็นศูนย์ (Net Zero Greenhouse Gas Emission) ภายในปี 2050 (พ.ศ. 2593) พร้อมเผย 5 กลยุทธ์ต้นแบบเพื่อการลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์อย่างยั่งยืน
ศูนย์อินเดียศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เสมือน Hub ที่เชื่อมสัมพันธ์และความร่วมมือระหว่างชาวอินเดียและไทย อีกทั้งยังเป็นคลังความรู้และข้อมูลเกี่ยวกับอินเดีย ทั้งอินเดียโบราณ อินเดียร่วมสมัย อินเดียใหม่ในมิติต่าง ๆ แนะคนไทยปรับเลนส์การมองอินเดีย ลดอคติ เน้นตั้งเป้ามองหาโอกาสชัดเจนจะสามารถคว้าโอกาสความร่วมมือจาก “อินเดียใหม่” ได้ก่อนใคร
อาจารย์คณะสหเวชศาสตร์ จุฬาฯ ร่วมกับสมาคมนักกำหนดอาหารแห่งประเทศไทย วิจัยและพัฒนานวัตกรรมอาหารและเครื่องดื่มสำหรับผู้สูงอายุและผู้ป่วยที่มีภาวะเคี้ยวและกลืนลำบาก จัดเต็ม 46 เมนูอาหารฝึกกลืนตามมาตรฐานสากล IDDSI ครบครันคุณค่าโภชนาการ เพื่อผู้สูงอายุสุขภาพดี
แนวคิด Aging Gracefully คืออะไร? การเผชิญความชราอย่างสง่างาม ทำได้อย่างไร? อาจารย์นักจิตวิทยาจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยมีคำตอบ สำหรับผู้ที่กำลังจะก้าวสู่สังคมสูงวัย ให้มีความมั่นใจทั้งสุขภาพกายและสุขภาพจิต
อาจารย์ภาควิชาวิศวกรรมนิวเคลียร์ จุฬาฯ เผยไม่พบการปนเปื้อนหรือแพร่กระจายซีเซียม-137 ในสิ่งแวดล้อมในพื้นที่ จ.ปราจีนบุรี ที่ตกเป็นข่าว พร้อมให้บริการวิชาการและการตรวจวัดรังสีโดยทีมผู้เชี่ยวชาญและเครื่องมือวิเคราะห์เชิงลึก
แพทย์จุฬาฯ ร่วมกับกรมการแพทย์แผนไทย เผยผลวิจัยชาสมุนไพรตำรับ “วังน้ำเย็น” ช่วยกระตุ้นน้ำนมในคุณแม่หลังคลอด โดยเฉพาะคุณแม่ผ่าคลอด แก้ปัญหาน้ำนมน้อย เห็นผลเทียบเท่ายาแผนปัจจุบัน เล็งต่อยอดในเชิงพาณิชย์และส่งออก
มุ่งสู่ “ผู้นำนวัตกรรมสร้างสรรค์สังคมสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน”
จุฬาฯ มีลักษณะของความเป็นพี่น้อง ความอบอุ่น เป็นสังคมที่อยากอนุรักษ์ไว้ ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จุฬาฯ มีลักษณะของความเป็นพี่น้อง ความอบอุ่น เป็นสังคมที่อยากอนุรักษ์ไว้
ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้ เพื่อมอบประสบการณ์การใช้งานที่ดีให้กับท่าน และเพื่อพัฒนาคุณภาพการให้บริการเว็บไซต์ที่ตรงต่อความต้องการของท่านมากยิ่งขึ้น ท่านสามารถทราบรายละเอียดเกี่ยวกับคุกกี้ได้ที่ นโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล และท่านสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า
ท่านสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น
ประเภทของคุกกี้ที่มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้ท่านสามารถใช้เว็บไซต์ได้อย่างเป็นปกติ ท่านไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้
คุกกี้ประเภทนี้จะทำการเก็บข้อมูลพฤติกรรมการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน โดยมีจุดประสงค์คือนำข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้มีคุณภาพ และสร้างประสบการณ์ที่ดีกับผู้ใช้งาน เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด หากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้นี้ เราอาจไม่สามารถวัดผลเพื่อการปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้ดีขึ้นได้ รายละเอียดคุกกี้