รู้จักจุฬาฯ
การบริหาร
อัตลักษณ์มหาวิทยาลัย
Green University
Sustainability
ติดต่อจุฬาฯ
บริจาคให้จุฬาฯ
หลักสูตร
การสมัครเข้าศึกษา
หน่วยงานการศึกษา
บริการนิสิต
บริการวิชาการ
บริการทางการแพทย์
บริการตรวจวิเคราะห์คุณภาพ
สารสนเทศและการสื่อสาร
พื้นที่สร้างสรรค์
ข่าวสารและความเคลื่อนไหว
วารสารจุฬาฯ
สาระความรู้
แพทย์จุฬาฯ เผยการวิจัยพบ “ไซโตไคน์” ในระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายที่บ่งชี้ความรุนแรงของโรคข้อเสื่อมในผู้สูงวัย หวังช่วยวางแผนการติดตาม รักษาและลดความรุนแรงของโรค พร้อมแนะเสริมวิตามินดีและวิตามินอี การควบคุมน้ำหนักตัว และออกกำลังกายให้เหมาะสม
จุฬาฯ จัดยิ่งใหญ่ ครั้งแรกในประเทศไทย งานเทศกาลด้านการพัฒนาความยั่งยืน Chula Sustainability Fest 2022 ณ อุทยาน 100 ปี จุฬาฯ ระหว่างวันที่ 2 – 4 กันยายน 2565
นักวิจัยคณะครุศาสตร์ จุฬาฯ แนะวิธีบ่มเพาะนิสัยและคุณลักษณะ “บุคคลเรียนรู้ตลอดชีวิต” ให้เด็กตั้งแต่วัยประถม เพื่อปรับตัวและใช้ชีวิตได้อย่างมีความสุขในโลกที่เปลี่ยนแปลงพลิกผันตลอดเวลา
EmpowerMe แอปพลิเคชันแชทบอทรูปแบบโค้ช เตรียมพร้อมผู้เรียนสู่การเป็นพลเมืองดิจิทัล พัฒนาทักษะแห่งอนาคต แนะงานที่เหมาะสมและเป็นที่ต้องการในตลาด ผลงานอาจารย์ครุศาสตร์ จุฬาฯ คว้าเหรียญทองจากงานประกวดนวัตกรรม ประเทศเกาหลีใต้
จุฬาฯ จับมือ UNESCO บ่มเพาะผู้นำแห่งอนาคตด้วยทักษะ Futures Literacy สร้างโลกที่ดีขึ้นในปัจจุบัน ตอกย้ำความเป็นหนึ่งในสถานศึกษาที่นำการเปลี่ยนแปลงด้านการเรียนรู้อย่างยั่งยืนในศตวรรษที่ 21
สู้วิกฤต เริ่มต้นใหม่ด้วยการเรียนรู้ตลอดชีวิต อาจารย์บัญชีจุฬาฯ แนะ up skill และ reskill ทักษะใหม่ ๆ อยู่เสมอ “รอดและรุ่ง” ได้ในโลกอันผันผวน
คณาจารย์ คณะบัญชีฯ จุฬาฯ พัฒนา Chula Wealth Plus แอปพลิเคชันคำนวณเงินออมเพื่อช่วยวางแผนเกษียณอย่างแม่นยำ หวังกระตุ้นให้ประชาชนวางแผนเกษียณล่วงหน้าเพื่อพึ่งพาตนเองได้หลังวัยเกษียณ
นิสิตคณะนิติศาสตร์ จุฬาฯ เปลี่ยนวิกฤตโควิดเป็นโอกาส รวมตัวปั้นธุรกิจออนไลน์ขายชีทสรุปวิชากฎหมาย ยอดขายดีจนเกิดดิสรัปต์ เล็งขยายกลุ่มเป้าหมายไปยังคณะอื่นๆ
คณะวิศวฯ จุฬาฯ เปิดหลักสูตรระยะสั้นสำหรับบุคคลทั่วไป “เทคโนโลยีMetaverse และการประยุกต์ใช้” ขยายกรอบการเรียนรู้ สร้างคนให้ทันการเปลี่ยนแปลงของโลกเทคโนโลยี ตอบโจทย์อนาคตสังคมไทย
“นิติทันตวิทยา” หนึ่งในศาสตร์พิสูจน์อัตลักษณ์บุคคลที่แม่นยำ “เปิดปาก ไขความจริงจากศพ” ช่วยคลี่คลายคดี สืบค้นบุคคลผู้เสียชีวิตในเหตุภัยพิบัติ คณะทันตฯ จุฬาฯ พร้อมผลักดันเปิดหลักสูตร มุ่งเพิ่มผู้เชี่ยวชาญ
ศูนย์วิทยาศาสตร์ฮาลาล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เชื่อมโยงครัวไทยสู่ครัวมุสลิมโลก ครบครันนวัตกรรมและการบริการด้านการมาตรฐานฮาลาล การตรวจสอบผลิตภัณฑ์ด้วยมาตรฐานระดับสากลตามแนวทางศาสนารับรอง วิทยาศาสตร์รองรับ เพื่อความมั่นใจของผู้บริโภคทั้งในและต่างประเทศ
บทความโดย คณาจารย์ สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เพื่อรับมือกับการเข้าสู่สังคมสูงวัยไร้บุตรหลานอย่างเร่งด่วน
การด้อยค่าตนเองเป็นเหตุหนึ่งที่นำไปสู่ภาวะซึมเศร้า อาจารย์คณะจิตวิทยา จุฬาฯ ชี้พร้อมให้แนวทางง่ายๆ ทำได้ทุกวัน เพื่อเพิ่มการเห็นคุณค่าในตนเอง (self esteem) อันเป็นต้นทางแห่งพลังชีวิต พิชิตนานาปัญหา ตามแบบฉบับของตัวเอง
ทีมวิจัยคณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาฯ พัฒนาวิธีการสร้างเซลล์ตับอ่อนของสุนัขจากสเต็มเซลล์และเทคโนโลยีการปลูกถ่ายเซลล์สำเร็จเป็นแห่งแรก มุ่งทดสอบในสัตว์ทดลองและสัตว์ป่วย เพื่อใช้ในการรักษาสัตว์ที่ป่วยเป็นโรคเบาหวานต่อไป
คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาฯ วิจัยจุลินทรีย์กินน้ำมัน พัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ชีวภาพเพื่อขจัดคราบน้ำมันปนเปื้อนในทะเล พร้อมต่อยอดสู่การผลิตในระดับอุตสาหกรรมเพื่อความยั่งยืนของระบบนิเวศ
อาจารย์และทีมนักวิจัยคณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาฯ คิดค้น วัคซีนนาโนแบบแช่ “ฟลาโว อินโนแวค” สำหรับปลานิลและปลากะพงขาว ลดการตายจากโรคและลดข้อจำกัดในการต้องใช้เข็มฉีดยา
นักวิจัยสาขาพันธุศาสตร์มนุษย์ คณะวิทย์ฯ จุฬาฯ พบยีนก่อโรคลมชักชนิดที่เกิดขึ้นเมื่อเข้าสู่วัยผู้ใหญ่ แนะกลุ่มเสี่ยงสืบประวัติครอบครัว สังเกตอาการและรับการตรวจวินิจฉัยเพื่อวางแผนการดูแลรักษา
คริปโตเคอร์เรนซี (Cryptocurrency) และเทคโนโลยีบล็อกเชนได้กลายเป็นสิ่งที่ผู้คนทั่วทั้งโลกให้ความสนใจและกำลังหาทางในการประยุกต์ใช้เพื่อสร้างมูลค่าให้กับตนเอง องค์กร และสังคม
พบผู้ป่วยโรคผื่นภูมิแพ้ผิวหนังเพิ่มขึ้น แพทย์จุฬาฯ แนะผู้ป่วยและญาติเข้าใจเหตุของโรคที่ยังไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้ เน้นการปรับตัว ลดพฤติกรรมการใช้ชีวิตติดแอร์ และความเครียด เลี่ยงแสงแดดและรู้วิธีรักษาสุขภาพผิวให้ชุ่มชื้นอยู่เสมอ
PASS นวัตกรรมจากแพทย์และวิศวฯ จุฬาฯ อุปกรณ์นำทางเข็มสำหรับเครื่องอัลตราซาวด์ เพิ่มความแม่นยำและความมั่นใจในการเจาะน้ำไขสันหลัง ลดความเสี่ยงและความเจ็บให้ผู้ป่วย
มุ่งสู่ “ผู้นำนวัตกรรมสร้างสรรค์สังคมสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน”
จุฬาฯ มีลักษณะของความเป็นพี่น้อง ความอบอุ่น เป็นสังคมที่อยากอนุรักษ์ไว้ ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จุฬาฯ มีลักษณะของความเป็นพี่น้อง ความอบอุ่น เป็นสังคมที่อยากอนุรักษ์ไว้
ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้ เพื่อมอบประสบการณ์การใช้งานที่ดีให้กับท่าน และเพื่อพัฒนาคุณภาพการให้บริการเว็บไซต์ที่ตรงต่อความต้องการของท่านมากยิ่งขึ้น ท่านสามารถทราบรายละเอียดเกี่ยวกับคุกกี้ได้ที่ นโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล และท่านสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า
ท่านสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น
ประเภทของคุกกี้ที่มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้ท่านสามารถใช้เว็บไซต์ได้อย่างเป็นปกติ ท่านไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้
คุกกี้ประเภทนี้จะทำการเก็บข้อมูลพฤติกรรมการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน โดยมีจุดประสงค์คือนำข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้มีคุณภาพ และสร้างประสบการณ์ที่ดีกับผู้ใช้งาน เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด หากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้นี้ เราอาจไม่สามารถวัดผลเพื่อการปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้ดีขึ้นได้ รายละเอียดคุกกี้