รู้จักจุฬาฯ
การบริหาร
อัตลักษณ์มหาวิทยาลัย
Green University
Sustainability
ติดต่อจุฬาฯ
บริจาคให้จุฬาฯ
หลักสูตร
การสมัครเข้าศึกษา
หน่วยงานการศึกษา
บริการนิสิต
บริการวิชาการ
บริการทางการแพทย์
บริการตรวจวิเคราะห์คุณภาพ
สารสนเทศและการสื่อสาร
พื้นที่สร้างสรรค์
ข่าวสารและความเคลื่อนไหว
วารสารจุฬาฯ
สาระความรู้
“พฤติกรรมเนือยนิ่ง” พฤติกรรมเสี่ยงโรคหลอดเลือดหัวใจและเบาหวาน ผลวิจัยอาจารย์ครุศาสตร์ จุฬาฯ เผย เพียงเดินเบาๆ 3 นาทีหลังนั่งต่อเนื่องกันเป็นระยะเวลา 30 นาที ช่วยลดค่าน้ำตาลและไขมันในเลือดได้
เปิดมิติใหม่การให้คำปรึกษาผู้ประสบปัญหาโรคซึมเศร้าโดยกรมสุขภาพจิต กับ DMIND นวัตกรรม AI จากแพทย์และวิศวฯ จุฬาฯ คัดกรองผู้ที่มีภาวะซึมเศร้า ในแอปพลิเคชั่นหมอพร้อม แม่นยำ เข้าถึงง่าย ใช้สะดวก ช่วยลดภาระแพทย์และนักจิตวิทยาในการดูแลผู้ป่วยโรคซึมเศร้า
สัตวแพทย์ จุฬาฯ วิเคราะห์และจำลอง “ไฮดรอกซี่แซนโทน” พัฒนาเลียนแบบสารสำคัญจากเปลือกมังคุด ที่มีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ กำจัดเชื้อโรคและยับยั้งการอักเสบเยื่อบุลำไส้ เล็งต่อยอดผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพสัตว์และคนในอนาคต
งานวิจัยทางทันตกรรม จุฬาฯ เผยคนไทยมีภาวะฟันหายมากกว่าต่างชาติ ในคนไทย 100 คน จะมีผู้ที่มีภาวะฟันหาย 9 คน หนึ่งปัจจัยสำคัญมาจากความผิดปกติของยีนซึ่งถ่ายทอดทางพันธุกรรมได้
อาจารย์คณะวิศวฯ จุฬาฯ นำเทคโนโลยี AI Deep Tech พัฒนาโปรแกรมสแกนเอกสารและรูปภาพเป็นข้อความ (OCR) อ่านภาษาไทยแม่นยำกว่า 90% UTC จุฬาฯ พร้อม spin-off สู่ตลาดในนามบริษัท Eikonnex AI จำกัด
ทีมนิสิตเก่าจุฬาฯ ร่วมกับ CU Innovation Hub ผุดไอเดียสตาร์ทอัพ “Kollective” เครื่องมือและบริการทำการตลาดอินฟลูเอนเซอร์แบบครบวงจร โดยใช้ Big data วิเคราะห์ข้อมูล เลือกอินฟลูเอนเซอร์ที่ใช่ วัดผลได้ เพิ่มยอดขายให้ธุรกิจ
นักวิจัยจุฬาฯ ระดมความร่วมมือนักวิจัยสหสาขาวิชา หาอัตลักษณ์และทัศนคติของชาวดิจิทัลไทย หวังลดช่องว่างระหว่างวัย สร้างความเข้าใจในการอยู่ร่วมกันในสังคม
อาจารย์สหเวชศาสตร์ จุฬาฯ เผยงานวิจัยผลิตภัณฑ์เสริมอาหารที่มีโปรตีนจากไข่ขาวสูง Albupro Plus อาหารฟังก์ชันสำหรับผู้รักสุขภาพ จ่อวางจำหน่ายเร็วๆ นี้
จุฬาฯ เผยความสำเร็จ CU SiHub บ่มเพาะอาจารย์นักวิจัยและนิสิตจุฬาฯ ขับเคลื่อนงานวิจัยทางสังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ และศิลปกรรมศาสตร์ ร่วมสร้างนวัตกรรมทางสังคม ผลักดันสู่ภาคธุรกิจและ Social Enterprise เพื่อพัฒนาสังคมอย่างยั่งยืน
อาจารย์ครุศาสตร์ จุฬาฯ พัฒนา “บ้านตุ๊กตา” ของเล่นบ่มเพาะอุปนิสัยความเห็นอกเห็นใจให้เด็กๆ รู้จักแนวทางการอยู่ร่วมกับผู้พิการและผู้ชราในสังคมอย่างมีความสุข
ทีมวิจัยคณะวิทย์ฯ จุฬาฯ ค้นพบสารสกัดในทุเรียนอ่อนมีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระสูงเทียบเท่าวิตามินซี เพิ่มความชุ่มชื่นและปกป้องผิวจากรังสียูวี เล็งผลิตเครื่องสำอาง ช่วยเกษตรกรเพิ่มมูลค่าของเหลือใช้ทางการเกษตร
อาจารย์เภสัช จุฬาฯ เปิดตัว StemAktiv นวัตกรรมจากงานวิจัย เพื่อสูตรผสมสารสกัดสมุนไพรไทยกว่า 10 ชนิด กระตุ้นการทำงานของสเต็มเซลล์ ส่งเสริมการทำงานของเซลล์ต้นกำเนิดของผิวหนังและเส้นผม
อย่าด่วนตัดสินอาชีพชายขอบ Sex Creator! อ. คณะนิติศาสตร์ จุฬาฯ ชี้ทุกฝ่ายทำความเข้าใจบริบทสังคมที่เปลี่ยนไป เน้นรัฐกำกับดูแลมากกว่าป้องปราบ ให้ความคุ้มครองสิทธิด้านเพศกับทุกคน พร้อมทั้งส่งเสริมสุขภาวะทางเพศและเสรีภาพการแสดงออกทางเพศตามกฎหมาย
จุฬาฯ เปิดศูนย์ความเป็นเลิศทางการแพทย์โรคมะเร็งครบวงจร ระดมแพทย์เฉพาะทางหลายสาขา รักษาผู้ป่วยโรคมะเร็งทุกชนิดด้วยวิทยาการและเทคโนโลยีขั้นสูง เพิ่มคุณภาพชีวิตผู้ป่วยและโอกาสหายจากโรค
ฉลองวาระการสถาปนา 105 ปี อธิการบดีจุฬาฯ ประกาศความสำเร็จใช้ “กลยุทธ์เรือเล็ก” บริหารจุฬาฯ รับมือโลกพลิกผัน หนุนนวัตกรรมเพื่อสังคม เน้นเป็นมหาวิทยาลัยใช้วิจัยนำการสอน ยกเครื่องหลักสูตรการเรียนรู้ สร้างสมรรถนะบัณฑิตให้สอดคล้องกับโลกแห่งอนาคต
อาจารย์วิศวกรรมนิวเคลียร์ คณะวิศวฯ จุฬาฯ พัฒนาอุปกรณ์สแกนต้นไม้ด้วยรังสีแกมมา ตรวจความหนาแน่นของเนื้อไม้ วัดความกลวงภายในลำต้น ป้องกันอุบัติเหตุจากต้นไม้โค่นล้ม ปลอดภัยในการใช้งาน อนุรักษ์ไม้ใหญ่ให้เมือง
อาจารย์ชีวเคมี จุฬาฯ เผยผลวิจัย พบเครื่องดื่มกัญชาที่สุ่มตรวจกว่า 30 % มีปริมาณสาร THC เกินกำหนด เตือนผู้บริโภคดื่มแต่น้อย เด็กไม่ควรดื่ม แนะรัฐออกมาตรการควบคุม สื่อสารทั้งคุณและโทษของกัญชา
วิศวฯ พร้อมแพทย์ จุฬาฯ ร่วมคิดค้นนวัตกรรมตรวจจำแนกชิ้นเนื้อเสี่ยงมะเร็งในระบบทางเดินอาหาร คำนวณผลแม่นยำ ย้ำชูการแพทย์เชิงป้องกัน หวังลดยอดผู้ป่วยมะเร็งฯ
สตาร์ทอัพภายใต้การสนับสนุนจาก CU Innovation Hub ร่วมกับอาจารย์คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาฯ พัฒนา “ไมโครนีดเดิลแบบละลายได้” นวัตกรรมช่วยให้การฉีดยาเป็นเรื่องง่าย ไม่เจ็บ ใครๆ ก็ทำให้ตัวเองได้ ทั้งยังลดขยะทางการแพทย์อีกด้วย
อาจารย์คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาฯ พัฒนาน้ำกระสายยาสำหรับการเตรียมยาน้ำแขวนตะกอนฟาวิพิราเวียรสำหรับผู้ป่วยเด็กเฉพาะราย ลดภาระของบุคลากรทางการแพทย์ในขั้นตอนการเตรียมยาน้ำจากยาเม็ด อีกทั้งช่วยผู้ปกครองดูแลให้ยาลูกหลานที่ป่วยในช่วง Home Isolation ได้อย่างเหมาะสม
มุ่งสู่ “ผู้นำนวัตกรรมสร้างสรรค์สังคมสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน”
จุฬาฯ สนับสนุนให้อาจารย์ทำงานวิจัย นับว่าเป็นสิ่งที่ดีมากต่อทั้งอาจารย์ นิสิต รวมถึงภาคประชาสังคม รองศาสตราจารย์ ดร.สุชนา ชวนิชย์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จุฬาฯ สนับสนุนให้อาจารย์ทำงานวิจัย นับว่าเป็นสิ่งที่ดีมากต่อทั้งอาจารย์ นิสิต รวมถึงภาคประชาสังคม
รองศาสตราจารย์ ดร.สุชนา ชวนิชย์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้ เพื่อมอบประสบการณ์การใช้งานที่ดีให้กับท่าน และเพื่อพัฒนาคุณภาพการให้บริการเว็บไซต์ที่ตรงต่อความต้องการของท่านมากยิ่งขึ้น ท่านสามารถทราบรายละเอียดเกี่ยวกับคุกกี้ได้ที่ นโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล และท่านสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า
ท่านสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น
ประเภทของคุกกี้ที่มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้ท่านสามารถใช้เว็บไซต์ได้อย่างเป็นปกติ ท่านไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้
คุกกี้ประเภทนี้จะทำการเก็บข้อมูลพฤติกรรมการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน โดยมีจุดประสงค์คือนำข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้มีคุณภาพ และสร้างประสบการณ์ที่ดีกับผู้ใช้งาน เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด หากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้นี้ เราอาจไม่สามารถวัดผลเพื่อการปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้ดีขึ้นได้ รายละเอียดคุกกี้