รู้จักจุฬาฯ
การบริหาร
อัตลักษณ์มหาวิทยาลัย
Green University
Sustainability
ติดต่อจุฬาฯ
บริจาคให้จุฬาฯ
หลักสูตร
การสมัครเข้าศึกษา
หน่วยงานการศึกษา
บริการนิสิต
บริการวิชาการ
บริการทางการแพทย์
บริการตรวจวิเคราะห์คุณภาพ
สารสนเทศและการสื่อสาร
พื้นที่สร้างสรรค์
ข่าวสารและความเคลื่อนไหว
วารสารจุฬาฯ
สาระความรู้
WE Assess ระบบสัมภาษณ์งานด้วย AI ฝีมือคนไทย ตอบโจทย์การพัฒนาศักยภาพมนุษย์ ให้องค์กรประเมินผู้สมัครงานที่ใช่ ช่วยคนไทยได้ทำงานที่ตนเองชอบและถนัด ผลงานนิสิตเก่าวิศวฯ จุฬาฯ ผู้ก่อตั้งบริษัท EdVISORY ในร่ม CU Innovation Hub
อาจารย์รัฐศาสตร์ จุฬาฯ แนะสังคมตระหนักภัย “การก่อการร้ายในสังคมเมือง” สร้างองค์ความรู้รับมือเมื่อเกิดเหตุ เสนอรัฐลงทุนด้านความมั่นคง
นักวิจัย จุฬาฯ คว้ารางวัลระดับโลก โชว์ผลงานโซลาร์เซลล์รุ่นใหม่ เพิ่มประสิทธิภาพกำลังการผลิตกระแสไฟฟ้า ประยุกต์เป็นหลากหลายผลิตภัณฑ์ การันตีมาตรฐานสากลและการพัฒนาพลังงานสะอาดที่ยั่งยืนเพื่อสังคม
นิสิตปริญญาโท ครุศาสตร์ จุฬาฯ เสนอแนวทางศิลปะและกิจกรรมศิลปะสนุกๆ 4 แบบ เพื่อสร้างประสบการณ์สุนทรียะสำหรับเด็กประถมศึกษาที่บกพร่องทางการเห็นและตาบอดสนิท
แพทย์ จุฬาฯ แนะเข้าใจแนวทาง “กินไขมันลดน้ำหนักแบบคีโต” รู้ทั้งผลดีและผลข้างเคียง ย้ำลดน้ำหนักเพื่อรักษาโรคและดูแลสุขภาพในระยะยาวด้วยสมดุลอาหารหลากหลายและพอประมาณ
โรคเลือดออกง่าย ฮีโมฟีเลีย โรคพันธุกรรมที่เป็นตลอดชีวิต แม้จะรักษาหายขาดไม่ได้ แต่ดูแลคุณภาพชีวิตให้ดีได้ แพทย์จุฬาฯ แนะรับการรักษาด้วยแฟคเตอร์ทดแทนแบบป้องกัน[CM1] ใช้แอปพลิชันเป็นตัวช่วยบันทึกข้อมูลเลือดออกผิดปกติและสื่อสารกับแพทย์สม่ำเสมอ
อาจารย์คณะวิทย์ฯ จุฬาฯ พัฒนาเสาจราจรล้มลุก ผลิตจากยางธรรมชาติ ดูดซับแรงกระแทก ลดแรงปะทะ คืนตัวกลับทันทีเมื่อถูกชนหรือทับ เพิ่มความปลอดภัยบนท้องถนน จ่อใช้แทนเสาจราจรพลาสติกที่เปราะและแตกง่าย
ดวงตาคือหน้าต่างของสุขภาพ จักษุแพทย์ จุฬาฯ ชวนทำความรู้จักโรคกล้ามเนื้อตาอ่อนแรง โรคที่อาจดูคล้ายๆ กับอาการตาล้าจากการใช้สายตาปกติ ซึ่งบั่นทอนคุณภาพการมองเห็นโดยเฉพาะในคนวัยทำงาน ซึ่งควรได้รับคำวินิจฉัยที่ถูกต้องจากแพทย์ และการรักษาที่เหมาะสม
คณะแพทยศาสตร์ จุฬาฯ บุกเบิกงานวิจัยแรกของประเทศ ศึกษา“ระบบชีวนิเวศจุลชีพของผู้สูงวัย” รวบรวมข้อมูลพื้นฐานระดับชาติ ไขความสัมพันธ์ระหว่างสุขภาวะของผู้สูงอายุกับจุลชีพในลำไส้ ทำนายความเสี่ยงการเกิดโรค และความแข็งแรงของประชากร
นิสิตปริญญาโทครุศาสตร์ จุฬาฯ ประดิษฐ์ชุดอุปกรณ์ “สานสร้างสรรค์” เสริมสร้างแรงบันดาลใจให้คนทุกวัยและทุกกลุ่มได้สนุกกับงานจักสานอย่างง่ายๆไม่ต้องมีพื้นฐาน แถมได้สมาธิและความเพลิดเพลิน
ศูนย์วิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีเพื่ออุตสาหกรรม (UTC) หนุนนักวิจัยด้าน Deep Tech ผลักดันนวัตกรรมเชิงลึกออกสู่ตลาด ส่งเสริมธุรกิจ ขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทย
นักวิจัย จุฬาฯ พัฒนาชุดตรวจมะเร็งปากมดลูกโดยการเก็บตัวอย่างปัสสาวะ ตรวจง่าย รู้ผลแม่นยำ รวดเร็วเพื่อเริ่มต้นการรักษาตั้งแต่ระยะแรก การันตีคุณภาพด้วยรางวัลผลงานประดิษฐ์คิดค้นประจำปี 2564 จากสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ
นักชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาฯ ร่วมมือนักวิจัยเยอรมนีและเมียนมาร์ พบกบลำธาร2 ชนิดใหม่ของโลกที่เมียนมาร์ ชี้ความหลากหลายทางชีวภาพของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ยังคงอยู่ วอนทุกฝ่ายร่วมอนุรักษ์ผืนป่าก่อนสิ่งมีชีวิตมีค่าสูญพันธุ์
อาจารย์ครุศาสตร์ฯ จุฬาฯ ชี้ Metaverse ช่วยพาผู้เรียนข้ามข้อจำกัดการเรียนรู้ในโลกความเป็นจริง ยกระดับการเรียนการสอนได้หากรู้จักแยกแยะและใช้อย่างเหมาะสม
อาจารย์จิตวิทยา จุฬาฯ ชี้ประเด็นการด้อยค่าตัวเอง ไม่ว่าเรื่องเชื้อชาติ สีผิว เพศ ที่เกิดขึ้นโดยไม่รู้ตัวและส่งผลต่อความสุขส่วนบุคคลและสังคม ชวนทุกฝ่ายรู้เท่าทันกระบวนการ Internalized Racism แล้วปรับมุมมองให้เห็นคุณค่าความเป็นมนุษย์ที่เท่ากัน
จุฬาฯ ชู CU iHub ผลิตบัณฑิตคุณภาพ สตาร์ทอัพพันธุ์ใหม่ ร่วมขับเคลื่อน Thailand 4.0 ประเทศเทคโนโลยีอุตสาหกรรมใหม่ด้วยนวัตกรรม สำเร็จแล้วด้วยสินค้านวัตกรรมมูลค่ากว่าหมื่นล้านบาท
ศูนย์ความเป็นเลิศทางการแพทย์โรคพาร์กินสันฯ โรงพยาบาลจุฬาฯ เปิดตัวแอปพลิเคชัน PDPlus ช่วยผู้ป่วยพาร์กินสันบันทึกอาการแบบ Real time พร้อมระบบเตือนทานยา เกมทดสอบประเมินการเคลื่อนไหว และระบบรายงานผลให้แพทย์ติดตามอาการอย่างใกล้ชิด
จุฬาฯ เปิดศูนย์นวัตกรรมเพื่อฝึกทักษะทางคลินิกทางสัตวแพทย์ ห้องเรียนปฏิบัติการทันสมัยเสมือนจริง เคี่ยวนิสิตสัตวแพทย์ให้เชี่ยวชาญ พร้อมเปิดพื้นที่จัดอบรมระดับนานาชาติ ส่งเสริมวิชาการด้านสัตวแพทย์ และการแพทย์
อาจารย์สาขาจิตวิทยาองค์กร จุฬาฯ ชี้ Workation ช่วยลดความเครียดพนักงานได้ จุดประกายความคิดใหม่ๆ และกระชับสัมพันธ์ทีมและองค์กร ทั้งนี้ พนักงานและองค์กรต้องเข้าใจเทรนด์การทำงานนี้ให้ชัดเจนและสร้างข้อตกลงร่วมกันเพื่อผลลัพธ์ “งานดี คนมีสุข”
อาจารย์จุฬาฯ วิจัยเก็บข้อมูลและตรวจวัดอัตราการไหลของน้ำในป่าอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ หวังคาดการณ์ภัยพิบัติเพื่อวางแผนรับมือและป้องกัน
มุ่งสู่ “ผู้นำนวัตกรรมสร้างสรรค์สังคมสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน”
จุฬาฯ มีลักษณะของความเป็นพี่น้อง ความอบอุ่น เป็นสังคมที่อยากอนุรักษ์ไว้ ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จุฬาฯ มีลักษณะของความเป็นพี่น้อง ความอบอุ่น เป็นสังคมที่อยากอนุรักษ์ไว้
ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้ เพื่อมอบประสบการณ์การใช้งานที่ดีให้กับท่าน และเพื่อพัฒนาคุณภาพการให้บริการเว็บไซต์ที่ตรงต่อความต้องการของท่านมากยิ่งขึ้น ท่านสามารถทราบรายละเอียดเกี่ยวกับคุกกี้ได้ที่ นโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล และท่านสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า
ท่านสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น
ประเภทของคุกกี้ที่มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้ท่านสามารถใช้เว็บไซต์ได้อย่างเป็นปกติ ท่านไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้
คุกกี้ประเภทนี้จะทำการเก็บข้อมูลพฤติกรรมการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน โดยมีจุดประสงค์คือนำข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้มีคุณภาพ และสร้างประสบการณ์ที่ดีกับผู้ใช้งาน เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด หากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้นี้ เราอาจไม่สามารถวัดผลเพื่อการปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้ดีขึ้นได้ รายละเอียดคุกกี้