รู้จักจุฬาฯ
การบริหาร
อัตลักษณ์มหาวิทยาลัย
Green University
Sustainability
ติดต่อจุฬาฯ
บริจาคให้จุฬาฯ
หลักสูตร
การสมัครเข้าศึกษา
หน่วยงานการศึกษา
บริการนิสิต
บริการวิชาการ
บริการทางการแพทย์
บริการตรวจวิเคราะห์คุณภาพ
สารสนเทศและการสื่อสาร
พื้นที่สร้างสรรค์
ข่าวสารและความเคลื่อนไหว
วารสารจุฬาฯ
สาระความรู้
ข่าวสารจุฬาฯ
23 สิงหาคม 2561
ภาพข่าว
เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 23 สิงหาคม 2561 ณ ห้องปฏิบัติการเสมือนจริง ชั้น 10 อาคารทันตแพทยศาสตร์เฉลิมนวมราช 80 คณะทันตแพทยศาสตร์ จุฬาฯ ผู้สื่อข่าวรายการ “NBT มีคำตอบ” ทางสถานีโทรทัศน์แห่งประเทศไทย ช่อง 11 กรมประชาสัมพันธ์ ได้สัมภาษณ์ ศ.ทพ.ดร.พสุธา ธัญญะกิจไพศาล อาจารย์คณะทันตแพทยศาสตร์ จุฬาฯ ผู้อำนวยการหลักสูตรสหสาขาวิชาทันตชีววัสดุศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาฯ เกี่ยวกับผลงานวิจัย “ใบกะเพรา – สวิมมิงแคร์” เจลป้องกันผิวฟันจากกรดคลอรีน ลดการเสียวฟันและการทำลายเคลือบฟันขณะว่ายน้ำ” และผลิตภัณฑ์เคลือบหลุมร่องฟันและวัสดุรองพื้นฟัน โดยผลงานวิจัยดังกล่าวจะเผยแพร่ในรายการ “NBT มีคำตอบ” ในช่วง Thailand 4.0 ฉบับประชาชน ใบกะเพรา – สวิมมิงแคร์” นวัตกรรมที่พัฒนาขึ้นโดยคณาจารย์จุฬาฯ ภายใต้ชื่อ 4Ds projects โดย ศ.ทพ.ดร.พสุธา เป็นหัวหน้าโครงการวิจัย ผลิตภัณฑ์นี้ได้รับรางวัลชนะเลิศ Life Science Startup Showcase Pitch & Partner 2018 ในงาน Startup Thailand 2018 สำหรับผลิตภัณฑ์เคลือบหลุมร่องฟันและวัสดุรองพื้นฟัน เป็นผลงานที่ได้รับรางวัลชนะเลิศจากงาน SCG Exclusive Pitching Night และงาน Sprint Thailand First Specialized Accelerator for Science and Technology จัดโดยสถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจ ศศินทร์ฯ และมีการนำผลิตภัณฑ์ดังกล่าวไปใช้อย่างแพร่หลายในคลินิกและโรงพยาบาลต่างๆ
จุฬาฯ ร่วมกับคาร์เทียร์ ประเทศไทย จัดงานเปิดตัว “โครงการเตรียมความพร้อมสู่การเป็นผู้ประกอบการเพื่อสังคม สำหรับ Cartier Women’s Initiative”
ศูนย์หนังสือจุฬาฯ จัดกิจกรรม “ใส่บาตรหนังสือ ครั้งที่ 16 : อ่านเพื่อสติ” สานต่อศรัทธาผ่านการอ่าน สร้างปัญญา เสริมสิริมงคลรับปีใหม่
นิสิต BBA จุฬาฯ เยี่ยม! ทำคะแนนสอบ TCAS Inter 2024 ได้ที่ 1 ของประเทศ
ศูนย์หนังสือจุฬาฯ เชิญร่วมงานเสวนา “โปรตุเกส…เหตุที่รัก”
นิสิตสาขาวิชาศิลปศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาฯ คว้ารางวัลชนะเลิศการประกวดสีน้ำระดับอุดมศึกษา
คณะทันตแพทย์ จุฬาฯ ชวนช็อป ดีมีคืน กับ Chula Dent ในโครงการ Easy E-Receipt 2.0
จุฬาฯ มีลักษณะของความเป็นพี่น้อง ความอบอุ่น เป็นสังคมที่อยากอนุรักษ์ไว้ ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จุฬาฯ มีลักษณะของความเป็นพี่น้อง ความอบอุ่น เป็นสังคมที่อยากอนุรักษ์ไว้
ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้ เพื่อมอบประสบการณ์การใช้งานที่ดีให้กับท่าน และเพื่อพัฒนาคุณภาพการให้บริการเว็บไซต์ที่ตรงต่อความต้องการของท่านมากยิ่งขึ้น ท่านสามารถทราบรายละเอียดเกี่ยวกับคุกกี้ได้ที่ นโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล และท่านสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า
ท่านสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น
ประเภทของคุกกี้ที่มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้ท่านสามารถใช้เว็บไซต์ได้อย่างเป็นปกติ ท่านไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้
คุกกี้ประเภทนี้จะทำการเก็บข้อมูลพฤติกรรมการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน โดยมีจุดประสงค์คือนำข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้มีคุณภาพ และสร้างประสบการณ์ที่ดีกับผู้ใช้งาน เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด หากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้นี้ เราอาจไม่สามารถวัดผลเพื่อการปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้ดีขึ้นได้ รายละเอียดคุกกี้