รู้จักจุฬาฯ
การบริหาร
อัตลักษณ์มหาวิทยาลัย
Green University
Sustainability
ติดต่อจุฬาฯ
บริจาคให้จุฬาฯ
หลักสูตร
การสมัครเข้าศึกษา
หน่วยงานการศึกษา
บริการนิสิต
บริการวิชาการ
บริการทางการแพทย์
บริการตรวจวิเคราะห์คุณภาพ
สารสนเทศและการสื่อสาร
พื้นที่สร้างสรรค์
ข่าวสารและความเคลื่อนไหว
วารสารจุฬาฯ
สาระความรู้
ข่าวสารจุฬาฯ
8 สิงหาคม 2566
ข่าวเด่น, ภาพข่าว
ผู้เขียน นิธิกานต์ ปภรภัฒ
เดือนกรกฎาคม 2566 ที่ผ่านมาโครงการ Chula Zero Waste มีโอกาสได้เปิดบ้านต้อนรับองค์กรที่ให้ความสนใจในเรื่องการจัดการขยะและการทำงานด้านพัฒนาอย่างยั่งยืนของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จำนวน 3 องค์กร
ทั้ง 3 องค์กรได้ฟังบรรยายภาพรวมการทำงานด้านความยั่งยืนและแนวทางการทำงานด้านการจัดการขยะของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ณ เรือนจุฬานฤมิต และได้เยี่ยมชมการจัดการขยะบริเวณต่างๆภายในมหาวิทยาลัย คือ
1) ภายในโรงอาหารสำนักงานมหาวิทยาลัย ซึ่งเป็นบริเวณที่ทำให้เห็นภาพของการลดและแยกขยะตั้งแต่ต้นทาง
2) โรงแปรรูปชีวมวล เพื่อดูการทำงานของเครื่องย่อยเศษอาหาร Bio-digester ที่ใช้ย่อยเศษประเภทเศษผักและเปลือกผลไม้ที่มาจากครัวในโรงอาหาร และตลาดสามย่าน
3) บริเวณเครื่องอัดขยะ เพื่อชมการทำงานของเครื่องอัดขยะที่ถูกแยกมาแล้วซึ่งแบ่งเป็นสองประเภทคือ ขยะลังงานที่จะถูกส่งไปเป็นพลังงานทดแทน ศึกษาเพิ่มเติมได้ที่ เชื้อเพลิงขยะ RDF (Refuse Derived Fuel) และ ขยะทั่วไปที่ส่งไปกำจัดต่อไป
หน่วยงานไหนที่สนใจอยากเข้ามาศึกษาวิธี หรือเยี่ยมชมการจัดการขยะของเพื่อนำไปเป็นแนวทางในการพัฒนาการจัดการขยะของหน่วยงานของท่าน โดยสามารถติดต่อเข้ามาได้ผ่านช่องทาง Facebook Inbox: https://www.facebook.com/chulazerowaste หรือ e-mail มาสอบถามรายละเอียดได้ที่ chulazerowaste@gmail.com
ศูนย์หนังสือจุฬาฯ จัดกิจกรรม “ใส่บาตรหนังสือ ครั้งที่ 16 : อ่านเพื่อสติ” สานต่อศรัทธาผ่านการอ่าน สร้างปัญญา เสริมสิริมงคลรับปีใหม่
นิสิต BBA จุฬาฯ เยี่ยม! ทำคะแนนสอบ TCAS Inter 2024 ได้ที่ 1 ของประเทศ
ศูนย์หนังสือจุฬาฯ เชิญร่วมงานเสวนา “โปรตุเกส…เหตุที่รัก”
นิสิตสาขาวิชาศิลปศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาฯ คว้ารางวัลชนะเลิศการประกวดสีน้ำระดับอุดมศึกษา
คณะทันตแพทย์ จุฬาฯ ชวนช็อป ดีมีคืน กับ Chula Dent ในโครงการ Easy E-Receipt 2.0
ขอเชิญชาวจุฬาฯ ประกวดคลิปวิดีโอสร้างสรรค์ “Chula Ethics: Our Code, Our Way: วิถีเรา ตัวตนเรา”
จุฬาฯ มีลักษณะของความเป็นพี่น้อง ความอบอุ่น เป็นสังคมที่อยากอนุรักษ์ไว้ ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จุฬาฯ มีลักษณะของความเป็นพี่น้อง ความอบอุ่น เป็นสังคมที่อยากอนุรักษ์ไว้
ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้ เพื่อมอบประสบการณ์การใช้งานที่ดีให้กับท่าน และเพื่อพัฒนาคุณภาพการให้บริการเว็บไซต์ที่ตรงต่อความต้องการของท่านมากยิ่งขึ้น ท่านสามารถทราบรายละเอียดเกี่ยวกับคุกกี้ได้ที่ นโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล และท่านสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า
ท่านสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น
ประเภทของคุกกี้ที่มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้ท่านสามารถใช้เว็บไซต์ได้อย่างเป็นปกติ ท่านไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้
คุกกี้ประเภทนี้จะทำการเก็บข้อมูลพฤติกรรมการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน โดยมีจุดประสงค์คือนำข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้มีคุณภาพ และสร้างประสบการณ์ที่ดีกับผู้ใช้งาน เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด หากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้นี้ เราอาจไม่สามารถวัดผลเพื่อการปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้ดีขึ้นได้ รายละเอียดคุกกี้