รู้จักจุฬาฯ
การบริหาร
อัตลักษณ์มหาวิทยาลัย
Green University
Sustainability
ติดต่อจุฬาฯ
บริจาคให้จุฬาฯ
หลักสูตร
การสมัครเข้าศึกษา
หน่วยงานการศึกษา
บริการนิสิต
บริการวิชาการ
บริการทางการแพทย์
บริการตรวจวิเคราะห์คุณภาพ
สารสนเทศและการสื่อสาร
พื้นที่สร้างสรรค์
ข่าวสารและความเคลื่อนไหว
วารสารจุฬาฯ
สาระความรู้
ข่าวสารจุฬาฯ
17 ธันวาคม 2561
ภาพข่าว
คณะกรรมการพิจารณาจริยธรรมการวิจัยในคน ชุดที่ 2 กลุ่มสังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ และศิลปกรรมศาสตร์ จัดประชุมเชิงปฏิบัติการ ในหัวข้อ “การดำเนินการของคณะกรรมการพิจารณาจริยธรรมการวิจัยในคน สายสังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ และศิลปกรรมศาสตร์” เมื่อวันที่ 13-14 ธันวาคม 2561 ณ ห้องประชุม 202 อาคารจามจุรี 4 ชั้น 2 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ศ.นพ.เกียรติ รักษ์รุ่งธรรม รองอธิการบดี เป็นประธานกล่าวเปิดการประชุมเชิงปฏิบัติการ เมื่อวันที่ 13 ธันวาคม 2561 โดยมีวัตถุประสงค์ในการจัดฝึกอบรมแก่คณาจารย์และนักวิจัย ให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักจริยธรรมการวิจัยในคนทางด้านสังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ และศิลปกรรมศาสตร์ เพื่อให้สอดคล้องตามหลักสากล รวมถึงสร้างบุคลากรที่มีประสิทธิภาพเพียงพอต่อการดำเนินการ
การทำวิจัยเกี่ยวกับมนุษย์จะต้องคำนึงถึงความสำคัญในเรื่องสวัสดิภาพของผู้เข้าร่วมงานวิจัยเป็นหลัก (Subject / Participant) เนื่องจากการทำวิจัยในศาสตร์ด้านสังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ และศิลปกรรมศาสตร์มีการทำวิจัยที่เกี่ยวข้องกับมนุษย์ เพราะฉะนั้นจึงจะต้องไม่มีการใช้สิ่งแทรกแซงที่อาจทำให้ผู้เข้าร่วมงานวิจัยเกิดอันตราย รวมถึงการเลือกใช้วิธีการศึกษาวิจัย ที่ต้องลดความเสี่ยงหรือส่งผลกระทบให้น้อยที่สุดต่อผู้เข้าร่วมงานวิจัย ทั้งในด้านร่างกาย จิตใจ และสังคม ซึ่งผู้วิจัยต้องให้การปกป้องความปลอดภัย ความเป็นส่วนตัว สิทธิ และศักดิ์ศรีของผู้เข้าร่วมงานวิจัยในทุกขั้นตอน
ปัจจุบันยังไม่มีกฏหมายที่ใช้บังคับในการทำวิจัยในมนุษย์ แต่มีประกาศคณะกรรมการข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา (ก.พ.อ.) เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการพิจารณาแต่งตั้งบุคคลฯ มีกำหนดให้ผู้ที่มีการใช้ข้อมูลจากการทำวิจัยในคนต้องแสดงผลการรับรองจากคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยก่อนดำเนินการวิจัย เพื่อสร้างมาตรฐานการวิจัยให้มีคุณภาพและปลอดภัยต่อผู้เข้าร่วมงานวิจัย
คณะแพทยศาสตร์ จุฬาฯ เชิญร่วมบริจาคสมทบกองทุนเพื่อการวิจัยด้านศัลยศาสตร์ สนับสนุนการพัฒนาและนวัตกรรมทางการแพทย์
เชิญชวนบุคลากรจุฬาฯ ร่วมกิจกรรม “เฮลท์ตี้…Young? เติมพลังชาวจุฬาฯ” รุ่นที่ 2
จุฬาฯ จับมือ SE Life อาคเนย์ประกันชีวิต มอบความคุ้มครองให้บุคลากร ปีที่ 2 พร้อมลงนามสัญญายกระดับให้บริการทันตกรรม
บทความพิเศษ ศศินทร์ จุฬาฯ: ส่องการศึกษาไทยในยุคที่เด็กเกิดน้อย
จุฬาฯ – สสว. ส่งเสริม SMEs ไทยสู่ความมั่นคงและยั่งยืนด้วยนวัตกรรม AI รายงาน Carbon Footprint
อธิการบดีจุฬาฯ ชี้อนาคตการศึกษาที่ขับเคลื่อนด้วย AI ความท้าทายของสถาบันอุดมศึกษาที่จะต้องปรับบทบาทใหม่
จุฬาฯ มีลักษณะของความเป็นพี่น้อง ความอบอุ่น เป็นสังคมที่อยากอนุรักษ์ไว้ ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จุฬาฯ มีลักษณะของความเป็นพี่น้อง ความอบอุ่น เป็นสังคมที่อยากอนุรักษ์ไว้
ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้ เพื่อมอบประสบการณ์การใช้งานที่ดีให้กับท่าน และเพื่อพัฒนาคุณภาพการให้บริการเว็บไซต์ที่ตรงต่อความต้องการของท่านมากยิ่งขึ้น ท่านสามารถทราบรายละเอียดเกี่ยวกับคุกกี้ได้ที่ นโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล และท่านสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า
ท่านสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น
ประเภทของคุกกี้ที่มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้ท่านสามารถใช้เว็บไซต์ได้อย่างเป็นปกติ ท่านไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้
คุกกี้ประเภทนี้จะทำการเก็บข้อมูลพฤติกรรมการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน โดยมีจุดประสงค์คือนำข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้มีคุณภาพ และสร้างประสบการณ์ที่ดีกับผู้ใช้งาน เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด หากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้นี้ เราอาจไม่สามารถวัดผลเพื่อการปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้ดีขึ้นได้ รายละเอียดคุกกี้