รู้จักจุฬาฯ
การบริหาร
อัตลักษณ์มหาวิทยาลัย
Green University
Sustainability
ติดต่อจุฬาฯ
บริจาคให้จุฬาฯ
หลักสูตร
การสมัครเข้าศึกษา
หน่วยงานการศึกษา
บริการนิสิต
บริการวิชาการ
บริการทางการแพทย์
บริการตรวจวิเคราะห์คุณภาพ
สารสนเทศและการสื่อสาร
พื้นที่สร้างสรรค์
ข่าวสารและความเคลื่อนไหว
วารสารจุฬาฯ
สาระความรู้
ข่าวสารจุฬาฯ
28 พฤษภาคม 2567
ข่าวเด่น, ภาพข่าว
ผู้เขียน สมบูรณ์ พัฒนปรีชาเสถียร
เมื่อวันที่ 24 พฤษภาคม 2567 ที่ห้องสยามฮอลล์ โรงแรมอีสติน แกรนด์ พญาไท กรุงเทพฯ วารสารภาษา (PASAA Journal) ซึ่งเป็นวารสารในฐานข้อมูล Scopus ของสถาบันภาษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและเป็นวารสารด้านการเรียนการสอนภาษาอังกฤษที่เก่าแก่ที่สุดของประเทศไทย จัดเสวนาวิชาการโดยนำเสนอคำปราศรัยสำคัญเรื่อง “Strangers in a Strange Land: Writing for Publication” โดย Prof. Andy Curtis จาก City University of Macau ควบคู่กับเวทีเสวนาเรื่อง “Writing Manuscripts for International Publication: Lessons to Be Learned from Scopus-Indexed Journal Editors” โดยมีผู้ทรงคุณวุฒิร่วมเวทีเสวนา อาทิ Prof. Antony John Kunnan จาก The Journal of Asia TEFL, Dr. Roby Marlina จาก RELC Journal (Singapore) และบรรณาธิการวารสารในฐานข้อมูล Scopus ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยอีกสองเล่ม คือ วารสาร Manusya Journal of Humanities และ วารสาร PASAA โดยมี Prof.Faridah Pawan บรรณาธิการวารสาร TESOL Journal-Special Issue รับหน้าที่ดำเนินการเสวนา
งานเสวนาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้เข้าร่วมประชุมได้เรียนรู้เกี่ยวกับวิธีการเขียนต้นฉบับบทความวิจัยเพื่อตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ ตลอดจนเพิ่มโอกาสที่บทความจะรับได้การคัดเลือกให้ตีพิมพ์ในวารสารที่เป็นที่ยอมรับมากขึ้น ผู้เข้าร่วมงานเสวนาวิชาการกว่า 200 คนประกอบด้วยนักวิชาการและนิสิตระดับบัณฑิตศึกษาจากหลากหลายประเทศ งานเสวนาครั้งนี้ได้รับทุนสนับสนุนจากสำนักบริหารวิจัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย
ศูนย์หนังสือจุฬาฯ เชิญร่วมงานเสวนา “โปรตุเกส…เหตุที่รัก”
นิสิตสาขาวิชาศิลปศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาฯ คว้ารางวัลชนะเลิศการประกวดสีน้ำระดับอุดมศึกษา
คณะทันตแพทย์ จุฬาฯ ชวนช็อป ดีมีคืน กับ Chula Dent ในโครงการ Easy E-Receipt 2.0
ขอเชิญชาวจุฬาฯ ประกวดคลิปวิดีโอสร้างสรรค์ “Chula Ethics: Our Code, Our Way: วิถีเรา ตัวตนเรา”
เชิญชวนชาวจุฬาฯ ประกวดออกแบบมาสคอต “Chula Mascot challenge ตัวแทนแห่งความโปร่งใส: CU Good gift mascot”
จุฬาฯ หัวเว่ย และ BUPT ร่วมพัฒนาบุคลากร ICT ในงาน Asia Pacific Cloud AI Forum & Huawei Developer Competition
จุฬาฯ มีลักษณะของความเป็นพี่น้อง ความอบอุ่น เป็นสังคมที่อยากอนุรักษ์ไว้ ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จุฬาฯ มีลักษณะของความเป็นพี่น้อง ความอบอุ่น เป็นสังคมที่อยากอนุรักษ์ไว้
ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้ เพื่อมอบประสบการณ์การใช้งานที่ดีให้กับท่าน และเพื่อพัฒนาคุณภาพการให้บริการเว็บไซต์ที่ตรงต่อความต้องการของท่านมากยิ่งขึ้น ท่านสามารถทราบรายละเอียดเกี่ยวกับคุกกี้ได้ที่ นโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล และท่านสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า
ท่านสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น
ประเภทของคุกกี้ที่มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้ท่านสามารถใช้เว็บไซต์ได้อย่างเป็นปกติ ท่านไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้
คุกกี้ประเภทนี้จะทำการเก็บข้อมูลพฤติกรรมการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน โดยมีจุดประสงค์คือนำข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้มีคุณภาพ และสร้างประสบการณ์ที่ดีกับผู้ใช้งาน เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด หากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้นี้ เราอาจไม่สามารถวัดผลเพื่อการปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้ดีขึ้นได้ รายละเอียดคุกกี้