รู้จักจุฬาฯ
การบริหาร
อัตลักษณ์มหาวิทยาลัย
Green University
Sustainability
ติดต่อจุฬาฯ
บริจาคให้จุฬาฯ
หลักสูตร
การสมัครเข้าศึกษา
หน่วยงานการศึกษา
บริการนิสิต
บริการวิชาการ
บริการทางการแพทย์
บริการตรวจวิเคราะห์คุณภาพ
สารสนเทศและการสื่อสาร
พื้นที่สร้างสรรค์
ข่าวสารและความเคลื่อนไหว
วารสารจุฬาฯ
สาระความรู้
ข่าวสารจุฬาฯ
28 มกราคม 2562
ข่าวเด่น
คณาจารย์จุฬาฯ ได้รับการประกาศเกียรติคุณจากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ให้ได้รับรางวัลสภาวิจัยแห่งชาติ ประจำปี 2562 จำนวนทั้งสิ้น 30 รางวัล ได้แก่ รางวัลนักวิจัยดีเด่น 3 ท่าน และคว้ารางวัลผลงานวิจัย รางวัลวิทยานิพนธ์ และรางวัลผลงานประดิษฐ์คิดค้น จำนวน 27 รางวัล พิธีมอบรางวัลมีขึ้นในวันนักประดิษฐ์ วันเสาร์ที่ 2 กุมภาพันธ์ 2562 ณ ศูนย์นิทรรศการและการประชุมไบเทค บางนา
คณาจารย์จุฬาฯ ที่ได้รับรางวัลต่างๆ มีดังนี้
– สาขาเศรษฐศาสตร์ ศ.ดร.วรเวศม์ สุวรรณระดา คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาฯ
– สาขาปรัชญา รศ.ดร.อรรจน์ เศรษฐบุตร คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาฯ
– สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา ศ.น.สพ.ดร.เผด็จ ธรรมรักษ์ คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาฯ
สาขาวิทยาศาสตร์กายภาพและคณิตศาสตร์
– ผลงานวิจัยเรื่อง “โครงสร้างระดับนาโนเมตรที่ซับซ้อนและการประยุกต์ใช้งานด้านพลังและเซนเซอร์” โดย ศ.ดร.สนอง เอกสิทธิ์ คณะวิทยาศาสตร์ และคณะ
สาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช
– ผลงานวิจัยเรื่อง “ศักยภาพของจุลสาหร่ายเพื่อใช้เป็นแหล่งผลิตเชื้อเพลิงชีวภาพ” โดย ศ.ดร.อรัญ อินเจริญศักดิ์ คณะวิทยาศาสตร์
สาขารัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์
– ผลงานวิจัยเรื่อง “เส้นทางสู่ประชาธิปไตยที่ไม่ย้อนกลับ : ปัจจัยเชิงสถาบันการเมืองกับประชาธิปไตยที่ตั้งมั่น เปรียบเทียบการเปลี่ยนผ่านทางการเมืองในเกาหลีใต้ อินโดนิเซีย ชิลี อาร์เจนตินา ตูนิเซีย ไนจีเรีย ยูเครน และโปแลนด์” โดย รศ.ดร. สิริพรรณ นกสวน สวัสดี คณะรัฐศาสตร์
– ผลงานวิจัยเรื่อง “ความหนืดเชียร์ใน โฮโลกราฟีและทฤษฎียังผลของการขนส่งในระบบที่ไม่มีสมมาตรการเคลื่อนที่” โดย รศ.ดร.ปิยบุตร บุรีคำ คณะวิทยาศาสตร์ และคณะ
สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์
– ผลงานวิจัยเรื่อง “การศึกษาระบาดวิทยา ชีววิทยาเชิงโมเลกุล และภาวะโรคตับที่เกี่ยวข้องไวรัสตับอักเสบซี เพื่อนำไปสู่การรักษาและขจัดไวรัสตับอักเสบซีให้หมดไปจากประเทศไทย” โดย ดร.รุจิพัชร์ วสิษฐ์ธัญเกษม คณะแพทยศาสตร์ และคณะ
– ผลงานวิจัยเรื่อง “การพัฒนาวัสดุเชิงประกอบระดับนาโนเมตรพอลิไดแอเซทิลีน/ซิงก์ออกไซด์เพื่องานด้านการตรวจวัด” โดย รศ.ดร.นิศานาถ ไตรผล คณะวิทยาศาสตร์
– ผลงานวิจัยเรื่อง “การใช้ฟังก์ชันนัลโคพอลิเมอร์บรัชสำหรีบประยุกต์ทางการตรวจวัดทางชีวภาพและชีวการแพทย์” โดย รศ.ดร.วรวีร์ โฮเว่น คณะวิทยาศาสตร์ และคณะ
สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา
– ผลงานวิจัยเรื่อง “การผลิตเอทานอลและบิวทานอลด้วยคลอสทริเดียมจากแหล่งคาร์บอนที่แตกต่างทั่วไป” โดย รศ.ดร.วรวุฒิ จุฬาลักษณานุกูล คณะวิทยาศาสตร์ และคณะ
– ผลงานวิจัยเรื่อง “การเฝ้าระวังเชื้อดื้อยาในเชิงสุขภาพหนึ่งเดียวในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้” โดย รศ.ดร.สพ.ญ.รุ่งทิพย์ ชวนชื่น คณะสัตวแพทยศาสตร์ และคณะ
สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและนิเทศศาสตร์
– ผลงานวิจัยเรื่อง “กลยุทธ์การสื่อสารเพื่อเตรียมพร้อมสำหรับการจัดการภัยพิบัติแผ่นดินไหว” โดย ผศ.ดร.พนม คลี่ฉายา คณะนิเทศศาสตร์
– วิทยานิพนธ์เรื่อง“ระบาดวิทยาเชิงโมเลกุลและวิวัฒนาการของเชื้อไวรัส ไข้หวัดใหญ่ชนิดเอและบี” โดย ดร.นิภาพร เทวาวงศ์ คณะแพทยศาสตร์
สาขาปรัชญา
– วิทยานิพนธ์เรื่อง “จามเทวีบูชา : การผลิตซ้ำตำนานและการสร้างพิธีบวงสรวงในสังคมไทยร่วมสมัย” โดย ดร.วริศรา อนันตโท คณะอักษรศาสตร์
– วิทยานิพนธ์เรื่อง “การศึกษาคุณสมบัติการเปลี่ยนผ่านของสภาวะโลหะ-ฉนวน ในฟิล์มบางวาเนเดียมไดออกไซด์” โดย ดร.สลิลพร กิตติวัฒนากูล คณะวิทยาศาสตร์
– วิทยานิพนธ์เรื่อง “วิธีเตรียมภาวะเลี้ยงเซลล์สาหรับวิศวกรรมเนื้อเยื่อกระดูกอ่อน : โดยอิทธิพลของสมบัติชีววัสดุจากรังไหมและก๊าซออกซิเจนปริมาณต่ำ” โดย ดร.สุพรรษา ยอดเมือง คณะแพทยศาสตร์
– วิทยานิพนธ์เรื่อง “เอนไซม์วิทยาในชีวสังเคราะห์ของกรดเทโทรนิค” โดย ดร.ชมพูนิกข์ กาญจนพังคะ คณะวิทยาศาสตร์
– วิทยานิพนธ์เรื่อง “ผลของการเคลือบผิวด้วยไคโตซานต่อคุณภาพหลังการเก็บเกี่ยวและอายุการเก็บรักษาผลมะม่วงน้ำดอกไม้” โดย ดร.พรจันทร์ จงศรี คณะวิทยาศาสตร์ .
– วิทยานิพนธ์เรื่อง “ลักษณะสมบัติเชิงหน้าที่ของโปรตีนรีลิชจากกุ้งกุลาดำ Penaeus monodon” โดย ดร.สุวัฒนา วิเศษนันท์ คณะวิทยาศาสตร์
– วิทยานิพนธ์เรื่อง “วัตถุมงคลทางดนตรีไทยในสังคมไทยร่วมสมัย: การสร้างความหมายและบทบาท” โดย ดร.ไอยเรศ บุญฤทธิ์ คณะอักษรศาสตร์
สาขาการศึกษา
– วิทยานิพนธ์เรื่อง “การพัฒนาโปรแกรมการเปิดรับประสบการณ์เพื่อเสริมสร้างความฉลาดทางวัฒนธรรมของนักศึกษาพยาบาล : การวิเคราะห์โมเดลสมการโครงสร้างแบบส่งผ่านพหุระดับ” โดย ดร.กาญจณี พันธุ์ไพโรจน์ คณะครุศาสตร์
– วิทยานิพนธ์เรื่อง “การพัฒนารูปแบบการเรียนรู้ศิลปะเพื่อส่งเสริมจิตสำนึกในการอยู่ร่วมกัน” โดย ดร.สริตา เจือศรีกุล คณะครุศาสตร์
– วิทยานิพนธ์เรื่อง “ตัวบ่งชี้และกลยุทธ์การเสริมสร้างความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ผ่านหมวดวิชาศึกษาทั่วไปของนิสิตนักศึกษา : การประยุกต์ใช้การวิเคราะห์สายโซ่วิธีการ-เป้าหมายและการวิเคราะห์กลุ่มแฝง” โดย ดร.ชัยยุทธ กลีบบัว คณะครุศาสตร์
– ผลงานเรื่อง “กล้องจุลทรรศน์สมาร์ตโฟน : ห้องปฏิบัติการเคลื่อนที่บนสมาร์ทโฟน” โดย ศ.ดร.สนอง เอกสิทธิ์ คณะวิทยาศาสตร์ และคณะ
– ผลงานเรื่อง “ภาชนะพลาสติกชีวภาพทนร้อนเย็นย่อยสลายได้” โดย ศ.ดร.รัตนวรรณ มกรพันธ์ วิทยาลัยปิโตรเลียมและปิโตรเคมี
– ผลงานเรื่อง ”อิมมูโนเซ็นเซอร์ทางเคมีไฟฟ้าสำหรับการตรวจวัดโปรตีนที่ตอบสนองต่อการอักเสบ” โดย ศ.ดร.อรวรรณ ชัยลภากุล คณะวิทยาศาสตร์ และคณะ
– ผลงานเรื่อง “เซ็นเซอร์กระดาษอัจฉริยะสำหรับตรวจวินิจฉัยดีเอ็นเอของโรคติดต่อ” โดย ศ.ดร.อรวรรณ ชัยลภากุล คณะวิทยาศาสตร์ และคณะ
สาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัย
– ผลงานเรื่อง “มิเตอร์ไฟฟ้าอัจฉริยะที่วัดได้สี่สิบแปดวงจร สื่อสารตามมาตรฐาน IEEE1888 ส่งข้อมูลผ่านสาย UTP หรือไร้สายแบบ LoRaWAN กินพลังงานต่ำมาก” โดย ผศ.ดร.วันเฉลิม โปรา คณะวิศวกรรมศาสตร์ และคณะ
– ผลงานเรื่อง “การ์ลิคอัพ กระเทียมไร้กลิ่นที่มีปริมาณอัลลิอินสูง” โดย ศ.ดร.นงนุช เหมืองสิน คณะวิทยาศาสตร์ และคณะ
สำนักบริหารกิจการนิสิต จุฬาฯ ร่วมกับชมรมพุทธศาสตร์และประเพณี จุฬาฯ จัดพิธีทำบุญตักบาตรปีใหม่ 2568 ที่ศาลาพระเกี้ยว
ไทยพีบีเอสสัมภาษณ์เผยแพร่ข่าว “ฟิล์มใสรักษาสิวจากเปลือกกล้วยหอมทองปทุม” นวัตกรรมความงามจากนักวิจัยศูนย์วิทยาศาสตร์ฮาลาล จุฬาฯ
เชิญชวนชาวจุฬาฯ เข้าร่วมการแข่งขันกีฬาภายในของบุคลากรจุฬาฯ ครั้งที่ 45 ประจำปี 2568
27 มกราคม – 14 มีนาคม 2568
ศูนย์หนังสือจุฬาฯ มอบของขวัญแทนใจ ให้น้องในวันเด็ก 2568
จุฬาฯ ร่วม World Economic Forum ประกาศ The Future of Jobs 2025 ชี้ทักษะแห่งอนาคต พร้อมแนะกลยุทธ์สร้างมนุษย์แห่งอนาคต (Future Human) สำหรับประเทศไทย
สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาฯ จัดงาน “Asia Forward Series” ครั้งที่ 1 ไทย-ออสเตรเลีย: โอกาสและความท้าทายในโลกที่ผันผวน
จุฬาฯ สนับสนุนให้อาจารย์ทำงานวิจัย นับว่าเป็นสิ่งที่ดีมากต่อทั้งอาจารย์ นิสิต รวมถึงภาคประชาสังคม รองศาสตราจารย์ ดร.สุชนา ชวนิชย์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จุฬาฯ สนับสนุนให้อาจารย์ทำงานวิจัย นับว่าเป็นสิ่งที่ดีมากต่อทั้งอาจารย์ นิสิต รวมถึงภาคประชาสังคม
รองศาสตราจารย์ ดร.สุชนา ชวนิชย์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้ เพื่อมอบประสบการณ์การใช้งานที่ดีให้กับท่าน และเพื่อพัฒนาคุณภาพการให้บริการเว็บไซต์ที่ตรงต่อความต้องการของท่านมากยิ่งขึ้น ท่านสามารถทราบรายละเอียดเกี่ยวกับคุกกี้ได้ที่ นโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล และท่านสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า
ท่านสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น
ประเภทของคุกกี้ที่มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้ท่านสามารถใช้เว็บไซต์ได้อย่างเป็นปกติ ท่านไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้
คุกกี้ประเภทนี้จะทำการเก็บข้อมูลพฤติกรรมการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน โดยมีจุดประสงค์คือนำข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้มีคุณภาพ และสร้างประสบการณ์ที่ดีกับผู้ใช้งาน เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด หากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้นี้ เราอาจไม่สามารถวัดผลเพื่อการปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้ดีขึ้นได้ รายละเอียดคุกกี้