รู้จักจุฬาฯ
การบริหาร
อัตลักษณ์มหาวิทยาลัย
Green University
Sustainability
ติดต่อจุฬาฯ
บริจาคให้จุฬาฯ
หลักสูตร
การสมัครเข้าศึกษา
หน่วยงานการศึกษา
บริการนิสิต
บริการวิชาการ
บริการทางการแพทย์
บริการตรวจวิเคราะห์คุณภาพ
สารสนเทศและการสื่อสาร
พื้นที่สร้างสรรค์
ข่าวสารและความเคลื่อนไหว
วารสารจุฬาฯ
สาระความรู้
ข่าวสารจุฬาฯ
4 มีนาคม 2562
ข่าวเด่น
นิสิตภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้รับรางวัลชนะเลิศ ในงาน TOT Hackathon 2019 สาขา Big Data Analytics ที่จัดขึ้นเมื่อวันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2562 ที่ผ่านมา ณ สถาบันนวัตกรรม ทีโอที โดยมี ดร.มนต์ชัย หนูสง กรรมการผู้จัดการใหญ่ ทีโอที เป็นประธานมอบรางวัล ซึ่งทีมที่ได้รับรางวัลคือ ทีม 101 โดยมีสมาชิกในทีม ดังนี้
โครงการ TOT Hackathon 2019 เป็นการแข่งขันประกวดผลงานนวัตกรรม และบริการใหม่ ในรูปแบบ Digital Platform เพื่อสนับสนุนพัฒนาบุคลากรด้าน Digital ในการนำองค์ความรู้ด้านเทคโนโลยีมาบูรณาการ ประยุกต์ สร้างนวัตกรรมและแนวธุรกิจดิจิทัล โดยมีนิสิตนักศึกษาสนใจสมัครร่วมโครงการกว่า 20 มหาวิทยาลัย รวม 45 ทีม ทั้งนี้โครงการ TOT Hackathon 2019 นอกจากจะเป็นขับเคลื่อนประเทศตามนโยบายของรัฐบาล โดยสนับสนุนให้นักศึกษา และผู้สนใจที่มีองค์ความรู้ด้านเทคโนโลยีมาแชร์ มาบูรณาการร่วมกัน เพื่อประยุกต์ สร้างนวัตกรรมและแนวธุรกิจดิจิทัล เป็นการพัฒนาบุคลากรด้านดิจิทัลสร้าง Start Up คนรุ่นใหม่ให้กับประเทศ ที่สำคัญจะเป็นการลงทุนสร้างนวัตกรรมรูปแบบใหม่สำหรับการทำธุรกิจดิจิทัล และเป็นการสร้างทรัพยากรด้านดิจิทัลให้กับองค์กร รวมถึงเป็นการพัฒนาศักยภาพของพนักงานของ ทีโอที ในการทำงานร่วมกับคนรุ่นใหม่ เพื่อให้การปรับธุรกิจสู่ Digital Transformation ประสบความสำเร็จได้เร็วขึ้น
จุฬาฯ หัวเว่ย และ BUPT ร่วมพัฒนาบุคลากร ICT ในงาน Asia Pacific Cloud AI Forum & Huawei Developer Competition
อธิการบดีจุฬาฯ 1 เดียวผู้นำด้านการศึกษาจาก 48 ผู้ทรงอิทธิพลไทย
นิสิตคณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาฯ ชนะเลิศการประกวดเดี่ยวเครื่องดนตรีไทยระดับอุดมศึกษาประเภทจะเข้และซอสามสาย
นิสิต BBA จุฬาฯ เยี่ยม! ทำคะแนนสอบ TCAS Inter 2024 ได้ที่ 1 ของประเทศ
ขอเชิญร่วมงาน “Chula Lunch Talk: อยู่ออฟฟิศก็เฟิร์มได้! ท่าออกกำลังง่าย ๆ สู้ Office Syndrome”
24 ม.ค. 68
สำนักงานวิทยทรัพยากร จุฬาฯ
แนวปฏิบัติเพื่อรองรับมาตรการจัดการในสถานการณ์ปริมาณฝุ่น PM2.5
จุฬาฯ สนับสนุนให้อาจารย์ทำงานวิจัย นับว่าเป็นสิ่งที่ดีมากต่อทั้งอาจารย์ นิสิต รวมถึงภาคประชาสังคม รองศาสตราจารย์ ดร.สุชนา ชวนิชย์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จุฬาฯ สนับสนุนให้อาจารย์ทำงานวิจัย นับว่าเป็นสิ่งที่ดีมากต่อทั้งอาจารย์ นิสิต รวมถึงภาคประชาสังคม
รองศาสตราจารย์ ดร.สุชนา ชวนิชย์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้ เพื่อมอบประสบการณ์การใช้งานที่ดีให้กับท่าน และเพื่อพัฒนาคุณภาพการให้บริการเว็บไซต์ที่ตรงต่อความต้องการของท่านมากยิ่งขึ้น ท่านสามารถทราบรายละเอียดเกี่ยวกับคุกกี้ได้ที่ นโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล และท่านสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า
ท่านสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น
ประเภทของคุกกี้ที่มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้ท่านสามารถใช้เว็บไซต์ได้อย่างเป็นปกติ ท่านไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้
คุกกี้ประเภทนี้จะทำการเก็บข้อมูลพฤติกรรมการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน โดยมีจุดประสงค์คือนำข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้มีคุณภาพ และสร้างประสบการณ์ที่ดีกับผู้ใช้งาน เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด หากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้นี้ เราอาจไม่สามารถวัดผลเพื่อการปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้ดีขึ้นได้ รายละเอียดคุกกี้