รู้จักจุฬาฯ
การบริหาร
อัตลักษณ์มหาวิทยาลัย
Green University
Sustainability
ติดต่อจุฬาฯ
บริจาคให้จุฬาฯ
หลักสูตร
การสมัครเข้าศึกษา
หน่วยงานการศึกษา
บริการนิสิต
บริการวิชาการ
บริการทางการแพทย์
บริการตรวจวิเคราะห์คุณภาพ
สารสนเทศและการสื่อสาร
พื้นที่สร้างสรรค์
ข่าวสารและความเคลื่อนไหว
วารสารจุฬาฯ
สาระความรู้
ข่าวสารจุฬาฯ
17 กันยายน 2567
ข่าวเด่น, หลักสูตรระยะสั้น
Chula MOOC Flexi แพลตฟอร์มการเรียนออนไลน์ที่ยืดหยุ่นจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ส่งเสริมทักษะที่จำเป็นในยุคดิจิทัลอย่างอิสระ สำหรับนิสิต นักศึกษาและบุคคลทั่วไปที่ต้องการพัฒนาความรู้และทักษะใหม่ๆ ด้วย 28 วิชาครอบคลุมหลากหลายหัวข้อที่สำคัญต่ออนาคต เช่น คอมพิวเตอร์ ปัญญาประดิษฐ์ (AI) การเขียนโปรแกรม การวิเคราะห์ข้อมูล และความปลอดภัยทางไซเบอร์ ฯลฯ ผู้เรียนสามารถเลือกเรียนในรูปแบบที่ยืดหยุ่น ด้วยรูปแบบการเรียนออนไลน์
Chula MOOC Flexi อยู่ภายในโครงการโซลูชันการเรียนรู้ตลอดชีวิตแบบดิจิทัล (Digital Lifelong Learning Solutions) เพื่อพัฒนาความรู้เสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ด้านดิจิทัลในฐานะกำลังแรงงานคุณภาพของประเทศ ที่ได้รับการสนับสนุนจากกองทุนพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม สำนักงานคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ซึ่งเป็นหน่วยงานภายใต้สังกัดกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม เพื่อผลิตเนื้อหาการเรียนรู้เกี่ยวกับ Digital & Artificial Intelligence (AI) Literacy ร่วมพัฒนาหลักสูตรกับผู้เชี่ยวชาญด้านดิจิทัลบนแพลตฟอร์มคลังความรู้ดิจิทัล Chula Neuron สำหรับผู้เรียนทุกกลุ่ม นิสิต นักศึกษา บุคลากร รวมถึงบุคคลทั่วไปที่สนใจจะพัฒนาทักษะดิจิทัล
สนใจสมัครได้เลยที่ https://cuneuron.chula.ac.th/cumooc-flexi (ไม่มีค่าใช้จ่าย) มีการเปิดสอนทั้งหมด 28 คอร์สเรียน และ 8 ชุดรายวิชาศึกษาทั่วไป ดังนี้
รู้จักคอมพิวเตอร์และระบบดิจิทัล – ผศ. ดร.ฑิตยา หวานวารีศึกษาพื้นฐานคอมพิวเตอร์ ระบบดิจิทัล และการแทนข้อมูลในคอมพิวเตอร์
https://www.mycourseville.com/?q=onlinecourse/store/12/course/51604
พื้นฐานเครือข่ายคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต – ผศ. ดร.ฑิตยา หวานวารีเรียนรู้เครือข่ายคอมพิวเตอร์และการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
https://www.mycourseville.com/?q=onlinecourse/store/12/course/51605
อินเทอร์เน็ตของทุกสรรพสิ่ง (IoT) – ผศ. ดร.ณรงค์เดช กีรติพรานนท์ทำความรู้จักกับ IoT และการจัดเก็บและวิเคราะห์ข้อมูล
https://www.mycourseville.com/?q=onlinecourse/store/12/course/51606
ปัญญาประดิษฐ์และการเรียนรู้ของเครื่อง – ผศ. ดร.สุกรี สินธุภิญโญเรียนรู้การประยุกต์ใช้ปัญญาประดิษฐ์และการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย Machine Learning
https://www.mycourseville.com/?q=onlinecourse/store/12/course/51607
การวิเคราะห์ข้อมูลและวิทยาการข้อมูล – ดร. วิโรจน์ จิรพัฒนกุลการวิเคราะห์และแปลงข้อมูลเป็นภาพ รวมถึงการตัดสินใจเชิงกลยุทธ์
https://www.mycourseville.com/?q=onlinecourse/store/12/course/51608
การแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันด้วยแนวคิดเชิงคำนวณ – รศ. ดร.โปรดปราน บุณยพุกกณะ และ อ. ดร.นฤมล ประทานวณิชใช้ทักษะเชิงคำนวณในการแก้ปัญหา
https://www.mycourseville.com/?q=onlinecourse/store/12/course/51966
พื้นฐานการโค้ดผ่านโปรแกรมแบบบล็อก – รศ. ดร.อติวงศ์ สุชาโต และ อ. ดร.พรรณราย ศิริเจริญเรียนรู้การเขียนโปรแกรมผ่านเครื่องมือสำหรับผู้เริ่มต้น
https://www.mycourseville.com/?q=onlinecourse/store/12/course/51610
ความปลอดภัยทางไซเบอร์สำหรับทุกคน – ผศ. ดร.ปิยะบุตร บุญอร่ามเรือง และ คุณณัฐกรณ์ ธีระประยุติการป้องกันภัยคุกคามทางไซเบอร์และการจัดการข้อมูลส่วนบุคคล
https://www.mycourseville.com/?q=onlinecourse/store/12/course/51609
การสร้างต้นแบบแอปพลิเคชันด้วย Google Slides – คุณกวิน เมศร์ศิริตระกูลวิธีการสร้าง Prototype แอปพลิเคชันอย่างรวดเร็วผ่าน Google Slides
https://www.mycourseville.com/?q=onlinecourse/store/12/course/51615
การสร้างเว็บไซต์ด้วย HTML และ CSS – ผศ. ดร.เนื่องวงศ์ ทวยเจริญ และ อ. ดร.มัชฌิกา อ่องแตงพื้นฐานการพัฒนาเว็บไซต์ด้วย HTML และการออกแบบด้วย CSS
https://www.mycourseville.com/?q=onlinecourse/store/12/course/51611
การเขียนโปรแกรมภาษา JavaScript – คุณไท ปังสกุลยานนท์การเขียนโปรแกรม JavaScript สำหรับการพัฒนาเว็บแอปพลิเคชัน
https://www.mycourseville.com/?q=onlinecourse/store/12/course/51612
การจัดการข้อมูลด้วยภาษา SQL – รศ. ดร.โชติรัตน์ รัตนามหัทธนะการจัดการข้อมูลจากฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ด้วยภาษา SQL
https://www.mycourseville.com/?q=onlinecourse/store/12/course/51613
พัฒนา Full-stack เว็บแอปพลิเคชัน – คุณพิเชฐ อิฐงามพัฒนาเว็บแอปพลิเคชันตั้งแต่ Frontend จนถึง Backend ด้วย React และ Node.js
https://www.mycourseville.com/?q=onlinecourse/store/12/course/51618
พื้นฐานความปลอดภัยไซเบอร์ – คุณธนา พงษ์กิตติหล้าความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับความปลอดภัยไซเบอร์และการป้องกันภัยคุกคาม
การเขียนโปรแกรมภาษา Python – รศ. ดร.อติวงศ์ สุชาโต รศ. ดร.โปรดปราน บุณยพุกกณะ รศ. ดร.ธนารัตน์ ชลิดาพงศ์ อ. ชินวิทย์ ชลิดาพงศ์การเขียนโปรแกรมด้วยภาษา Python และการประมวลผลข้อมูลเบื้องต้น
https://www.mycourseville.com/?q=onlinecourse/store/12/course/51927
การพัฒนาโครงงาน IoT ด้วย Raspberry Pi – รศ. ดร.อติวงศ์ สุชาโต ปณิดา วิริยะชัยพร ไกรฤกษ์ ตรีทิพสุนทรฝึกการสร้างโครงงาน IoT ด้วย Raspberry Pi ตั้งแต่ฮาร์ดแวร์ไปจนถึงการเขียนโปรแกรมควบคุม
https://www.mycourseville.com/?q=onlinecourse/store/12/course/51933
การทำโครงงาน IoT ด้วย Raspberry Pi แบบบูรณาการ – รศ. ดร.อติวงศ์ สุชาโต ปณิดา วิริยะชัยพร ไกรฤกษ์ ตรีทิพสุนทรการบูรณาการอุปกรณ์ IoT ให้ทำงานร่วมกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ
https://www.mycourseville.com/?q=onlinecourse/store/12/course/51934
การแปลงข้อมูลเป็นภาพด้วย Pandas – ผศ. ดร.สุกรี สินธุภิญโญเรียนรู้การใช้ Pandas ในการจัดการข้อมูลและแปลงเป็นภาพกราฟิก
https://www.mycourseville.com/?q=onlinecourse/store/12/course/51929
Machine Learning : Supervised Learning – อ. ดร.นฤมล ประทานวณิชการเรียนรู้ของเครื่องแบบมีผู้สอน (Supervised Learning) และการประยุกต์ใช้ในงานจริง
https://www.mycourseville.com/?q=onlinecourse/store/12/course/51930
Machine Learning : Unsupervised Learning – ผศ. ดร.ฑิตยา หวานวารีเรียนรู้การวิเคราะห์ข้อมูลแบบไม่ต้องมีผู้สอน (Unsupervised Learning) เพื่อค้นหาความสัมพันธ์ในข้อมูล
https://www.mycourseville.com/?q=onlinecourse/store/12/course/51931
Machine Learning : Time Series Modeling – อ. ดร.เอกพล ช่วงสุวนิชการวิเคราะห์ข้อมูลแบบ Time Series และการสร้างโมเดลพยากรณ์อนาคต
https://www.mycourseville.com/?q=onlinecourse/store/12/course/51932
การพัฒนาโปรแกรมด้วย Computer Vision – รศ. ดร.ธนารัตน์ ชลิดาพงศ์การประมวลผลภาพและการใช้เทคนิค Computer Vision ในการรู้จำวัตถุ
https://www.mycourseville.com/?q=onlinecourse/store/12/course/51617
การวิเคราะห์ความต้องการในการพัฒนาซอฟต์แวร์ – ศ. ดร.วิวัฒน์ วัฒนาวุฒิเรียนรู้วิธีการวิเคราะห์ความต้องการและจัดทำข้อกำหนดในการพัฒนาซอฟต์แวร์
https://www.mycourseville.com/?q=onlinecourse/store/12/course/51614
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์ : เทคนิคและแนวทางปฏิบัติที่ดี – ผศ. สุริยาพร เอี่ยมวิจิตร์การจัดการโครงการพัฒนาซอฟต์แวร์และเทคนิคการบริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ
https://www.mycourseville.com/?q=onlinecourse/store/12/course/51616
กฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลสำหรับผู้ปฏิบัติงานในหน่วยงานและองค์กรธุรกิจ – รศ. ดร.ปิยะบุตร บุญอร่ามเรือง ผศ. ดร.พีรพัฒ โชคสุวัฒนสกุล ผศ. ดร.ปิติ เอี่ยมจำรูญลาภกฎหมายและแนวปฏิบัติที่จำเป็นสำหรับเจ้าหน้าที่ที่ต้องปฏิบัติตามกฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
https://www.mycourseville.com/?q=onlinecourse/store/12/course/34896
หลักปฏิบัติสำหรับเจ้าหน้าที่คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล – รศ. ดร.ปิยะบุตร บุญอร่ามเรืองแนวทางปฏิบัติเพื่อคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลตามหลักกฎหมายและมาตรฐานความปลอดภัย
https://www.mycourseville.com/?q=onlinecourse/store/12/course/51619
การบริหารจัดการระบบสารสนเทศเพื่อคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล – รศ. ดร.ปิยะบุตร บุญอร่ามเรือง และคุณนิเวศ พันธุ์ขะวงศ์
หลักการที่ช่วยพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อปกป้องข้อมูลส่วนบุคคลและจัดการความเสี่ยงอย่างเหมาะสมตลอดวงจรชีวิตของข้อมูล
https://www.mycourseville.com/?q=onlinecourse/store/12/course/51620
ครุศาสตร์ จุฬาฯ เชิญร่วมสองกิจกรรมโครงการ “เล่นเพลินสำหรับเด็กปฐมวัย” “นิทานฟังเพลิน” และ “Happy Play Day”
อาจารย์คณะแพทยศาสตร์ จุฬาฯ ได้รับการเชิดชูเกียรติเป็น “อาจารย์ดีเด่นแห่งชาติ ปอมท.” ประจำปี 2567
อธิการบดีจุฬาฯ ได้รับเลือกเป็นประธานสมาคมสถาบันการศึกษาขั้นอุดมแห่งภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (ASAIHL) ปี 2025-2026
นิสิตภาควิชาสถิติ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาฯ คว้ารางวัลชนะเลิศการแข่งขัน CHOICEISYOURS 2024
จุฬาฯ เชิญชวนร่วมงาน “One Stop Open House 2024” โดยกระทรวง อว. ระหว่างวันที่ 27 พ.ย. – 1 ธ.ค. 2567 ณ ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์
เชิญผู้สนใจเข้าร่วมโครงการฝึกอบรมด้านจิตวิทยา “BRIDGING DISCIPLINES: Incorporate Psychology into Your Endeavor”
8 ม.ค. 2568 เวลา 09.00 – 16.00 น.
ชั้น 6 อาคารบรมราชชนนีศรีศตพรรษ คณะจิตวิทยา จุฬาฯ
จุฬาฯ สนับสนุนให้อาจารย์ทำงานวิจัย นับว่าเป็นสิ่งที่ดีมากต่อทั้งอาจารย์ นิสิต รวมถึงภาคประชาสังคม รองศาสตราจารย์ ดร.สุชนา ชวนิชย์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จุฬาฯ สนับสนุนให้อาจารย์ทำงานวิจัย นับว่าเป็นสิ่งที่ดีมากต่อทั้งอาจารย์ นิสิต รวมถึงภาคประชาสังคม
รองศาสตราจารย์ ดร.สุชนา ชวนิชย์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้ เพื่อมอบประสบการณ์การใช้งานที่ดีให้กับท่าน และเพื่อพัฒนาคุณภาพการให้บริการเว็บไซต์ที่ตรงต่อความต้องการของท่านมากยิ่งขึ้น ท่านสามารถทราบรายละเอียดเกี่ยวกับคุกกี้ได้ที่ นโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล และท่านสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า
ท่านสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น
ประเภทของคุกกี้ที่มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้ท่านสามารถใช้เว็บไซต์ได้อย่างเป็นปกติ ท่านไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้
คุกกี้ประเภทนี้จะทำการเก็บข้อมูลพฤติกรรมการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน โดยมีจุดประสงค์คือนำข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้มีคุณภาพ และสร้างประสบการณ์ที่ดีกับผู้ใช้งาน เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด หากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้นี้ เราอาจไม่สามารถวัดผลเพื่อการปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้ดีขึ้นได้ รายละเอียดคุกกี้