รู้จักจุฬาฯ
การบริหาร
อัตลักษณ์มหาวิทยาลัย
Green University
Sustainability
ติดต่อจุฬาฯ
บริจาคให้จุฬาฯ
หลักสูตร
การสมัครเข้าศึกษา
หน่วยงานการศึกษา
บริการนิสิต
บริการวิชาการ
บริการทางการแพทย์
บริการตรวจวิเคราะห์คุณภาพ
สารสนเทศและการสื่อสาร
พื้นที่สร้างสรรค์
ข่าวสารและความเคลื่อนไหว
วารสารจุฬาฯ
สาระความรู้
ข่าวสารจุฬาฯ
26 กันยายน 2567
ข่าวเด่น
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยกำหนดจัดพิธีพระราชทานปริญญาบัตรแก่บัณฑิตจุฬาฯ ปีการศึกษา 2565 ในวันพุธที่ 2 วันพฤหัสบดีที่ 3 และวันศุกร์ที่ 4 ตุลาคม 2567 ณ หอประชุมจุฬาฯ โดยจะมีการเปิด-ปิดประตูจุฬาฯ และการจัดการจราจรในวันดังกล่าว ดังนี้
ประตูรถยนต์ ยานพาหนะ
1. เปิดประตูคณะรัฐศาสตร์ เวลา 05.00 – 22.00 น. รถยนต์ทั่วไปสามารถผ่านเข้า – ออกและขึ้นจอดรถที่อาคารจอดรถ 3 ได้
2. เปิดประตูธรรมสถาน ตลอดเวลา
3. ปิดประตูหน้ามหาวิทยาลัยฝั่งหอประชุมจุฬาฯ ด้านถนนพญาไททั้งทางเข้าและทางออก
4. ปิดประตูคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์
5. ปิดประตูคณะวิทยาศาสตร์ เจ้าหน้าที่จะอนุญาตเปิดประตูเฉพาะรถของผู้บริหาร และรถที่มีบัตรเชิญพิเศษผ่านเข้า – ออกได้ในช่วงที่มีการเตรียมเส้นทางใกล้เวลาเสด็จฯ
6. ปิดการจราจรแยกหอนาฬิกา ห้ามรถที่ไม่เกี่ยวข้องผ่านเข้ามาบริเวณวงเวียนเสาธง หน้าหอประชุมจุฬาฯ เจ้าหน้าที่จะอนุญาตเฉพาะรถที่มีบัตรอนุญาตพิเศษ
7. ปิดการจราจรแยกพิพิธภัณฑ์จุฬาฯ ห้ามรถที่ไม่เกี่ยวข้องเลี้ยวขวาเข้ามาบริเวณวงเวียนเสาธงหน้าหอประชุมจุฬาฯ อนุญาตเฉพาะรถที่มีบัตรอนุญาตพิเศษ
8. ปิดประตูคณะอักษรศาสตร์ตลอดเวลา ส่วนประตูทางเข้าอาคารจอดรถ 2 ให้เข้าเฉพาะรถยนต์ที่จะขึ้นจอดบนอาคารเท่านั้น ไม่อนุญาตให้รถยนต์ผ่านเข้ามาในมหาวิทยาลัย
9. ปิดการจราจรที่แยกหน้าอาคารวิศิษฐ์ประจวบเหมาะ ตรวจสอบรถ อนุญาตเฉพาะรถที่มีตราติดรถยนต์ของมหาวิทยาลัยและรถที่มีบัตรอนุญาตพิเศษผ่านเข้า – ออกได้ กรณีรถจักรยานยนต์ อนุญาตเฉพาะรถของบุคลากรและผู้ที่ปฏิบัติงานของมหาวิทยาลัยหรือบริษัทที่มีความเกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยเท่านั้น
10. ปิดการจราจรที่แยกลานจักรพงษ์ ตรวจสอบรถ อนุญาตเฉพาะรถที่มีบัตรอนุญาตพิเศษ กรณีรถยนต์ของบุคลากรคณะวิศวกรรมศาสตร์ แนะนำให้นำรถยนต์เข้า – ออกด้านภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า
11. ปิดประตูคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี
ประตูทางเท้า
1. ประตูประตูทางเท้าคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ เปิดเวลา 05.00 – 22.00 น.
2. ประตูทางเท้าคณะวิทยาศาสตร์ เปิดเวลา 03.00 – 22.00 น.
3. ประตูทางเท้าคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี เปิดตลอดเวลา
4. ประตูทางเท้าด้านจามจุรีสแควร์ เปิดเวลา 05.00 – 22.00 น.
5. ประตูประตูทางเท้าคณะเภสัชศาสตร์ เปิดตามเวลาปกติ เวลา 05.00 – 22.00 น.
6. ประตูทางเท้าด้านอาคารวิศวกรรมสถาน ปิดตลอดเวลา
7. ประตูทางเท้าสำนักงานมหาวิทยาลัย เปิดเวลา 05.00 – 22.00 น.
8. ประตูทางเท้าคณะนิเทศศาสตร์ เปิดเวลา 05.00 – 22.00 น.
9. ประตูทางเท้าสถาบันศศินทร์ เปิดเวลา 05.00 – 24.00 น.
10. ประตูทางเท้าสนามกีฬาจุฬาฯ เปิดเวลา 05.00 – 22.00 น.
11. ประตูทางเท้าด้านธรรมสถาน เปิดตลอดเวลา
12. ประตูทางเท้าข้างอาคารจามจุรี 9 เปิดตามเวลาปกติ เวลา 05.00 – 22.00 น.
13. ประตูทางเท้าคณะอักษรศาสตร์ 05.00 – 22.00 น.
หมายเหตุ: งดให้บริการรถสกู๊ตเตอร์ไฟฟ้า และรถจักรยานในฝั่งหอประชุมจุฬาฯ รถสามล้อมูฟมีจะไม่เข้ามหาวิทยาลัย ส่วนประตูรัฐศาสตร์ รถสามล้อมูฟมีจะผ่านเข้าถึงหน้าอาคารเกษมอุทยานินเท่านั้น
จุฬาฯ จัดงานเลี้ยงรับรองผู้บริหารมหาวิทยาลัยที่เข้าร่วมการประชุมสามัญ ทปอ. ครั้งที่ 1/2568
อบรมเชิงปฏิบัติการ “S.M.A.R.T Communication: พัฒนาทักษะการสื่อสารเพื่อสร้างผลลัพธ์และบรรยากาศที่ดี”
ขอเชิญชวนคณาจารย์จุฬาฯ สมัครและเสนอชื่อผู้สมัครรับเลือกตั้งสมาชิกสภาคณาจารย์ จุฬาฯ พ.ศ. 2568
3-10 มี.ค. 2568
ขอเชิญร่วมงาน “วันอ้วนโลก“ World Obesity Day 2025 “อ้วนแล้วเปลี่ยน… เริ่มวันนี้ เพื่อชีวิตที่ยั่งยืน” 1 มีนาคม 2568 ณ ชั้น 9 อาคาร SiamScape
1 มีนาคม 2568 เวลา 09.30-15.00 น. ชั้น 9 อาคาร SiamScape
จุฬาฯ ร่วมเปิดงาน “เทศกาลบางแสนเพลิน” กิจกรรมสร้างสรรค์จากงานวิจัยสู่ชุมชน
พิธีบวงสรวงพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวและพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสที่จุฬาฯ อัญเชิญพระบรมฉายาลักษณ์ขึ้นประดิษฐาน ณ โถงอาคารมหาจุฬาลงกรณ์
จุฬาฯ เป็นที่ที่เราได้มาพบตัวเองจริงๆ และเป็นช่วงเวลาที่สนุกที่สุด คุณรสสุคนธ์ กองเกตุ (ครูเงาะ) นิสิตเก่า คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จุฬาฯ เป็นที่ที่เราได้มาพบตัวเองจริงๆ และเป็นช่วงเวลาที่สนุกที่สุด
คุณรสสุคนธ์ กองเกตุ (ครูเงาะ) นิสิตเก่า คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้ เพื่อมอบประสบการณ์การใช้งานที่ดีให้กับท่าน และเพื่อพัฒนาคุณภาพการให้บริการเว็บไซต์ที่ตรงต่อความต้องการของท่านมากยิ่งขึ้น ท่านสามารถทราบรายละเอียดเกี่ยวกับคุกกี้ได้ที่ นโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล และท่านสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า
ท่านสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น
ประเภทของคุกกี้ที่มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้ท่านสามารถใช้เว็บไซต์ได้อย่างเป็นปกติ ท่านไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้
คุกกี้ประเภทนี้จะทำการเก็บข้อมูลพฤติกรรมการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน โดยมีจุดประสงค์คือนำข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้มีคุณภาพ และสร้างประสบการณ์ที่ดีกับผู้ใช้งาน เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด หากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้นี้ เราอาจไม่สามารถวัดผลเพื่อการปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้ดีขึ้นได้ รายละเอียดคุกกี้