รู้จักจุฬาฯ
การบริหาร
อัตลักษณ์มหาวิทยาลัย
Green University
Sustainability
ติดต่อจุฬาฯ
บริจาคให้จุฬาฯ
หลักสูตร
การสมัครเข้าศึกษา
หน่วยงานการศึกษา
บริการนิสิต
บริการวิชาการ
บริการทางการแพทย์
บริการตรวจวิเคราะห์คุณภาพ
สารสนเทศและการสื่อสาร
พื้นที่สร้างสรรค์
ข่าวสารและความเคลื่อนไหว
วารสารจุฬาฯ
สาระความรู้
ข่าวสารจุฬาฯ
19 ตุลาคม 2567
ข่าวเด่น, ภาพข่าว
สถาบันวิจัยสังคม จุฬาฯ จัดงานเสวนาวิชาการในหัวข้อ “Economic Justice at the Base of the Economic Pyramid: Promoting Fairness and Inclusion for Informal Workers” เมื่อวันที่ 18 ตุลาคม 2567 ณ ห้องประชุมจุมภฏ-พันธุ์ทิพย์ อาคารประชาธิปก-รำไพพรรณี โดยมี ศ.ดร.วิเลิศ ภูริวัชร อธิการบดีจุฬาฯ เป็นผู้กล่าวเปิดการเสวนา รศ.ดร.อุ่นเรือน เล็กน้อย ผู้อำนวยการสถาบันวิจัยสังคม จุฬาฯ เป็นผู้กล่าวต้อนรับ
ในงานมีการปาฐกถานำโดย Prof. Martha (Marty) Chen ผู้เชี่ยวชาญด้านแรงงานนอกระบบจาก Harvard University และผู้ร่วมก่อตั้งเครือข่าย WIEGO (Women in Informal Employment: Globalizing and Organizing) จากนั้นเป็นการเสวนาวิชาการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในหัวข้อ “การเสริมสร้างความมั่นคงให้กับคนทำงานในระบบเศรษฐกิจที่ไม่เป็นทางการของประเทศไทย” ผู้ร่วมวงเสวนาประกอบด้วยตัวแทนจากภาครัฐ นักวิชาการ และองค์กรภาคประชาสังคม อาทิ Callum Mackenzie จาก Yunus Thailand, Raja Asvanon จาก Stockholm Environment Institute (SEI) คุณพูนทรัพย์ ตุลาพันธุ์ จาก Homenet Thailand และผู้แทนจากกระทรวงแรงงาน และผู้แทนจากกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
การเสวนาวิชาการครั้งนี้มุ่งเน้นการสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับบทบาทของแรงงานนอกระบบที่มีต่อเศรษฐกิจและสังคม ตลอดจนแนวทางการพัฒนานโยบายเพื่อสนับสนุนกลุ่มแรงงานเหล่านี้ โดยเน้นความร่วมมือระหว่างภาควิชาการและภาครัฐ เพื่อต่อยอดการพัฒนาสังคมที่ยั่งยืน
สถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยมีความมุ่งมั่นในการเสริมสร้างความเข้มแข็งในบทบาทการวิจัยและพัฒนานโยบายสังคมอย่างต่อเนื่องทั้งในระดับชาติและนานาชาติ ผ่านการจัดกิจกรรมเสวนาวิชาการ งานวิจัย และการสร้างเครือข่ายความร่วมมือกับองค์กรทั้งในประเทศและต่างประเทศ โดยเฉพาะการให้ความสำคัญกับประเด็นสังคมที่ท้าทาย เช่น การส่งเสริมสิทธิและความเป็นธรรมให้กับแรงงานนอกระบบ การแก้ปัญหาความยากจน และการส่งเสริมความเท่าเทียมทางสังคม ซึ่งจะเป็นแนวทางสำคัญในการพัฒนาและยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนในทุกระดับ
งาน “ใต้ร่มพระบารมี 243 ปี กรุงรัตนโกสินทร์” ณ อุทยาน 100 ปี จุฬาฯ กระทรวงวัฒนธรรมนำการแสดง ศิลปะ อาหาร จัดแสดงอย่างยิ่งใหญ่
จุฬาฯ จับมือพันธมิตร 6 ฝ่าย ร่วมลงนาม MOU “โครงการพัฒนาผู้พิทักษ์สิ่งแวดล้อมรุ่นเยาว์” เดินหน้าสร้างผู้นำเยาวชนด้านสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน
จุฬาฯ ตรวจสุขภาพแรงงานฟรี เนื่องในวันแรงงาน 1 พฤษภาคม 2568 ที่สยามสแควร์
1 พ.ค. 68 เวลา 08.00 -20.00 น.
สยามสแควร์
“MDCU MedUMORE” โดยคณะแพทยศาสตร์ จุฬาฯ ได้รับรางวัล Winner “THE Awards Asia 2025” ประเภท Technological or Digital Innovation of the Year
ศูนย์วิทยาศาสตร์ฮาลาล จุฬาฯ จัดนิทรรศการเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และองค์ความรู้ฮาลาลในงานเมาลิดกลางแห่งประเทศไทย ฮ.ศ. 1446
เชิญชวนคณาจารย์จุฬาฯ สมัครและเสนอชื่อผู้สมัครรับการเลือกตั้งเพิ่มเติม สมาชิกสภาคณาจารย์ พ.ศ. 2568
23 - 28 เมษายน 2568
จุฬาฯ มีลักษณะของความเป็นพี่น้อง ความอบอุ่น เป็นสังคมที่อยากอนุรักษ์ไว้ ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จุฬาฯ มีลักษณะของความเป็นพี่น้อง ความอบอุ่น เป็นสังคมที่อยากอนุรักษ์ไว้
ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้ เพื่อมอบประสบการณ์การใช้งานที่ดีให้กับท่าน และเพื่อพัฒนาคุณภาพการให้บริการเว็บไซต์ที่ตรงต่อความต้องการของท่านมากยิ่งขึ้น ท่านสามารถทราบรายละเอียดเกี่ยวกับคุกกี้ได้ที่ นโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล และท่านสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า
ท่านสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น
ประเภทของคุกกี้ที่มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้ท่านสามารถใช้เว็บไซต์ได้อย่างเป็นปกติ ท่านไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้
คุกกี้ประเภทนี้จะทำการเก็บข้อมูลพฤติกรรมการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน โดยมีจุดประสงค์คือนำข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้มีคุณภาพ และสร้างประสบการณ์ที่ดีกับผู้ใช้งาน เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด หากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้นี้ เราอาจไม่สามารถวัดผลเพื่อการปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้ดีขึ้นได้ รายละเอียดคุกกี้