รู้จักจุฬาฯ
การบริหาร
อัตลักษณ์มหาวิทยาลัย
Green University
Sustainability
ติดต่อจุฬาฯ
บริจาคให้จุฬาฯ
หลักสูตร
การสมัครเข้าศึกษา
หน่วยงานการศึกษา
บริการนิสิต
บริการวิชาการ
บริการทางการแพทย์
บริการตรวจวิเคราะห์คุณภาพ
สารสนเทศและการสื่อสาร
พื้นที่สร้างสรรค์
ข่าวสารและความเคลื่อนไหว
วารสารจุฬาฯ
สาระความรู้
ข่าวสารจุฬาฯ
1 พฤศจิกายน 2567
ข่าวเด่น, หลักสูตรระยะสั้น
ภาควิชาการออกแบบอุตสาหกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาฯ ร่วมบัณฑิตวิทยาลัย จุฬาฯ เปิดโครงการอบรม Lifelong Learning หลักสูตร Product Planning and Development เพื่อเพิ่มทักษะด้านการวางแผนและพัฒนาผลิตภัณฑ์/บริการใหม่
หลักสูตรนี้มีเนื้อหาครอบคลุมทุกขั้นตอนตลอดกระบวนการวางแผนและพัฒนาผลิตภัณฑ์/บริการใหม่ ตั้งแต่การระบุโอกาส การคิดและคัดกรองไอเดีย การทดสอบและพัฒนาแนวคิดต้นแบบไปจนถึงการพัฒนารูปแบบธุรกิจใหม่ เมื่อจบหลักสูตรคุณจะมีทักษะที่สำคัญในการขับเคลื่อนนวัตกรรมได้ในทุกอุตสาหกรรม
หลักสูตรถูกออกแบบให้เหมาะสำหรับ :
นักออกแบบ นวัตกร/ที่ปรึกษาด้านนวัตกรรม ผู้จัดการโครงการ ทีม R&D ผู้ประกอบการ และผู้ก่อตั้งสตาร์ทอัพ ที่ต้องการเพิ่มโอกาสความสำเร็จด้วยการพัฒนาผลิตภัณฑ์หรือบริการใหม่ที่มีผู้มนุษย์เป็นศูนย์กลาง (Human-centered)
หลักสูตร Product Planning and Development เป็นหลักสูตรเข้มข้นนอกเวลา
จัดการเรียนการสอนใน 3 สุดสัปดาห์ วันที่ 7-8, 14-15, และ 21-22 ธันวาคม 2567 เวลา 09.00 – 18.00 น.
ณ ภาควิชาการออกแบบอุตสาหกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ผู้สนใจสามารถดูรายละเอียด และสมัคร ได้ที่ https://sites.google.com/view/ppdlll67/product-planning-and-development หรือสแกน QR Code ได้ที่โปสเตอร์ประชาสัมพันธ์ ลงทะเบียนตั้งแต่บัดนี้ จนถึงวันที่ 30 พฤศจิกายน 2567 หรือจนกว่าที่นั่งจะเต็ม การสมัครเป็นแบบ First-come, First-served โดยพิจารณาตามลำดับการชำระเงินค่าสมัคร
ติดต่อและสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม ได้ที่
Line Official Account: @706zwctc
Email: cugs.academy@gmail.com
Tel: 085-234-3980 (Ms.Patcharee), 062-718-6925 (Ms.Waranan)
นิสิตเภสัชศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ จุฬาฯ จัด “ค่าย 3 สัญจร สอนสัมพันธ์”ส่งเสริมการเรียนรู้สร้างแรงบันดาลใจให้นักเรียนจังหวัดอ่างทอง
นิสิตเภสัชศาสตร์ จุฬาฯ คว้ารางวัลชนะเลิศและรองชนะเลิศ “INNOVATORS IMPACT CHALLENGE 2025” สร้างสรรค์นวัตกรรมโปรตีนจากรังไหม
เชิญเข้าร่วมอบรมหัวข้อ “AI กับความเป็นส่วนตัว: เราควบคุมหรือถูกควบคุม?”
9 พฤษภาคม 2568 เวลา 13.00 - 16.00 น. ห้องอำไพ สุจริตกุล คณะครุศาสตร์
การสร้าง Course Syllabus และการประเมินการเรียนการสอนผ่านระบบ myCourseVille ในระบบทวิภาค และระบบทวิภาค-นานาชาติ ภาคฤดูร้อน ปีการศึกษา 2567
ศูนย์นวัตกรรมการเรียนรู้ จุฬาฯ เชิญฟังการบรรยายพิเศษ “PDPA OK Aha! เข้าใจความท้าทายจนนำไปปฏิบัติได้”
24 เมษายน 2568 เวลา 09.00 - 12.00 น. หอประชุมคณะวิศวกรรมศาสตร์ อาคาร 3
สถาบันภาษา จุฬาฯ จัดการประชุมทางวิชาการระดับนานาชาติ ประจําปี 2568 (46th Language Testing Research Colloquium: LTRC 2025)
จุฬาฯ สนับสนุนให้อาจารย์ทำงานวิจัย นับว่าเป็นสิ่งที่ดีมากต่อทั้งอาจารย์ นิสิต รวมถึงภาคประชาสังคม รองศาสตราจารย์ ดร.สุชนา ชวนิชย์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จุฬาฯ สนับสนุนให้อาจารย์ทำงานวิจัย นับว่าเป็นสิ่งที่ดีมากต่อทั้งอาจารย์ นิสิต รวมถึงภาคประชาสังคม
รองศาสตราจารย์ ดร.สุชนา ชวนิชย์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้ เพื่อมอบประสบการณ์การใช้งานที่ดีให้กับท่าน และเพื่อพัฒนาคุณภาพการให้บริการเว็บไซต์ที่ตรงต่อความต้องการของท่านมากยิ่งขึ้น ท่านสามารถทราบรายละเอียดเกี่ยวกับคุกกี้ได้ที่ นโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล และท่านสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า
ท่านสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น
ประเภทของคุกกี้ที่มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้ท่านสามารถใช้เว็บไซต์ได้อย่างเป็นปกติ ท่านไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้
คุกกี้ประเภทนี้จะทำการเก็บข้อมูลพฤติกรรมการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน โดยมีจุดประสงค์คือนำข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้มีคุณภาพ และสร้างประสบการณ์ที่ดีกับผู้ใช้งาน เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด หากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้นี้ เราอาจไม่สามารถวัดผลเพื่อการปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้ดีขึ้นได้ รายละเอียดคุกกี้