รู้จักจุฬาฯ
การบริหาร
อัตลักษณ์มหาวิทยาลัย
Green University
Sustainability
ติดต่อจุฬาฯ
บริจาคให้จุฬาฯ
หลักสูตร
การสมัครเข้าศึกษา
หน่วยงานการศึกษา
บริการนิสิต
บริการวิชาการ
บริการทางการแพทย์
บริการตรวจวิเคราะห์คุณภาพ
สารสนเทศและการสื่อสาร
พื้นที่สร้างสรรค์
ข่าวสารและความเคลื่อนไหว
วารสารจุฬาฯ
สาระความรู้
ข่าวสารจุฬาฯ
4 พฤศจิกายน 2567
ข่าวเด่น, ความเป็นนานาชาติ, ภาพข่าว
เมื่อวันที่ 2 พฤศจิกายน 2567 ศ.ดร.วิเลิศ ภูริวัชร อธิการบดีจุฬาฯ และ อ.ดร.ถิรพุทธิ์ ปิติฉัตร ผู้ช่วยอธิการบดี ด้านพัฒนาองค์กร จุฬาฯ ได้เข้าร่วมการประชุม The 21st Beijing Forum 2024 ซึ่งจัดขึ้นที่ Da Xue Tang Conference Center มหาวิทยาลัยปักกิ่ง สาธารณรัฐประชาชนจีน ในการนี้ ศ.ดร.วิเลิศ ภูริวัชร อธิการบดีจุฬาฯ ได้ปาฐกถาในหัวข้อ “Digital Intelligence Education: Building Inclusive, Mastery-Based Universities.”
Beijing Forum 2024 จัดขึ้นภายใต้แนวคิดหลัก “Harmony of Civilizations and Prosperity for AI – The Era of Innovation and Advancement of Mankind” (ความกลมกลืนของอารยธรรมและความเจริญรุ่งเรืองสำหรับ AI – ยุคแห่งนวัตกรรมและความก้าวหน้าของมนุษยชาติ) มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมความร่วมมือในด้านมนุษยศาสตร์และการศึกษา รวมถึงการสนับสนุนความก้าวหน้าผ่านนวัตกรรมและความกลมกลืนระหว่างอารยธรรม
Beijing Forum เป็นการประชุมทางวิชาการประจำปีที่มีชื่อเสียง ก่อตั้งเมื่อปี 2547 โดยมุ่งเน้นในด้านมนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และการพัฒนาระดับโลก เป็นเวทีสำหรับนักวิชาการ ผู้กำหนดนโยบาย และนักการศึกษาเข้าร่วมอภิปรายเกี่ยวกับประเด็นที่สำคัญของโลกและส่งเสริมการแลกเปลี่ยนทางวัฒนธรรม นอกจากนี้ยังมีการบรรยายพิเศษและการอภิปรายในหัวข้อที่สำคัญ
อธิการบดีจุฬาฯ 1 เดียวผู้นำด้านการศึกษาจาก 48 ผู้ทรงอิทธิพลไทย
นิสิตคณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาฯ ชนะเลิศการประกวดเดี่ยวเครื่องดนตรีไทยระดับอุดมศึกษาประเภทจะเข้และซอสามสาย
นิสิต BBA จุฬาฯ เยี่ยม! ทำคะแนนสอบ TCAS Inter 2024 ได้ที่ 1 ของประเทศ
ขอเชิญร่วมงาน “Chula Lunch Talk: อยู่ออฟฟิศก็เฟิร์มได้! ท่าออกกำลังง่าย ๆ สู้ Office Syndrome”
24 ม.ค. 68
สำนักงานวิทยทรัพยากร จุฬาฯ
แนวปฏิบัติเพื่อรองรับมาตรการจัดการในสถานการณ์ปริมาณฝุ่น PM2.5
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาฯ เชิญร่วมฟังการบรรยายพิเศษและการเสวนา ในงานครบรอบวัน อรุณ สรเทศน์ รำลึก ประจำปี 2568
22 มกราคม 2568 เวลา 08.30 น.
หอประชุมคณะวิศวกรรมศาสตร์
จุฬาฯ มีลักษณะของความเป็นพี่น้อง ความอบอุ่น เป็นสังคมที่อยากอนุรักษ์ไว้ ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จุฬาฯ มีลักษณะของความเป็นพี่น้อง ความอบอุ่น เป็นสังคมที่อยากอนุรักษ์ไว้
ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้ เพื่อมอบประสบการณ์การใช้งานที่ดีให้กับท่าน และเพื่อพัฒนาคุณภาพการให้บริการเว็บไซต์ที่ตรงต่อความต้องการของท่านมากยิ่งขึ้น ท่านสามารถทราบรายละเอียดเกี่ยวกับคุกกี้ได้ที่ นโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล และท่านสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า
ท่านสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น
ประเภทของคุกกี้ที่มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้ท่านสามารถใช้เว็บไซต์ได้อย่างเป็นปกติ ท่านไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้
คุกกี้ประเภทนี้จะทำการเก็บข้อมูลพฤติกรรมการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน โดยมีจุดประสงค์คือนำข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้มีคุณภาพ และสร้างประสบการณ์ที่ดีกับผู้ใช้งาน เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด หากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้นี้ เราอาจไม่สามารถวัดผลเพื่อการปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้ดีขึ้นได้ รายละเอียดคุกกี้