รู้จักจุฬาฯ
การบริหาร
อัตลักษณ์มหาวิทยาลัย
Green University
Sustainability
ติดต่อจุฬาฯ
บริจาคให้จุฬาฯ
หลักสูตร
การสมัครเข้าศึกษา
หน่วยงานการศึกษา
บริการนิสิต
บริการวิชาการ
บริการทางการแพทย์
บริการตรวจวิเคราะห์คุณภาพ
สารสนเทศและการสื่อสาร
พื้นที่สร้างสรรค์
ข่าวสารและความเคลื่อนไหว
วารสารจุฬาฯ
สาระความรู้
ข่าวสารจุฬาฯ
14 พฤศจิกายน 2567
งานวิจัยและนวัตกรรม, ข่าวเด่น
สถาบันไทยศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ขอเชิญชวนทดสอบเกมแอปพลิเคชันความจริงเสมือนวัดอรุณ ตั้งแต่วันที่ 18 – 27 พฤศจิกายน เวลา 08.30-17.30 น. ณ วัดอรุณราชวราราม ราชวรมหาวิหาร
เกมแอปพลิเคชันความเป็นจริงเสมือนวัดอรุณ เป็นผลผลิตจากโครงการวิจัยเรื่อง “การสร้างเทคโนโลยีเสมือนจริงเพื่อเพิ่มมูลค่าทุนทางอุตสาหกรรมท่องเที่ยวและวัฒนธรรมอย่างยั่งยืนของแหล่งมรดกวัฒนธรรมวัดอรุณราชวราราม ราชวรมหาวิหาร” ได้รับทุนสนับสนันจากสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ
โครงการวิจัยนี้เป็นการบูรณาการข้ามศาสตร์ระหว่างมนุษยศาสตร์กับวิศวกรรมศาสตร์ โดยนักวิจัยของสถาบันไทยศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับนักโบราณคดี จากกองโบราณคดี กรมศิลปากร คัดสรรและสังเคราะห์องค์ความรู้ทางศิลปกรรมและสถาปัตยกรรมของวัดอรุณฯ มานำเสนอด้วยเทคโนโลยีความจริงเสมือนที่สร้างสรรค์และพัฒนาเกมแอปพลิเคชันโดยคณะนักวิจัยจากหน่วยวิจัยระบบนิเวศการสื่อสารไร้สาย ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เพื่อสื่อสารคุณค่าของวัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหาร ซึ่งเป็นแหล่งมรดกทางวัฒนธรรมที่สำคัญของประเทศไทยให้นานาชาติได้รับรู้
รับชมข้อมูลประสบการณ์เสมือนจริงของวัดอรุณได้ที่ https://www.youtube.com/watch?v=XlbrC7qrD54
ประชุมวิชาการระดับนานาชาติ ICESML 2025 การกำหนดภาวะผู้นำแห่งอนาคตและปัญญาประดิษฐ์ในการบริหารระบบการศึกษา
ผู้บริหารศศินทร์เข้าพบรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ แลกเปลี่ยนมุมมองอนาคตโอกาสทางธุรกิจในประเทศไทย
พิธีรดน้ำขอพรผู้สูงอายุที่ศูนย์ส่งเสริมสุขภาวะผู้สูงอายุ คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาฯ เนื่องในโอกาสวันสงกรานต์
“หนึ่งความเสียหาย หลายฝ่ายเกี่ยวข้อง: สำรวจสัญญาก่อสร้างภาครัฐ” คณะนิติศาสตร์ จุฬาฯ จัดเสวนาให้ความรู้ในมุมมองทางกฎหมายและวิศวกรรม
“ในทรงจำนำทางอันรางเลือน” นิทรรศการข้ามศาสตร์ระหว่างวิทยาศาสตร์และศิลปะ ให้ความรู้ในแง่มุมหลากหลายของความทรงจำ
อาจารย์คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาฯ ค้นพบหลักฐานใหม่ในถ้ำกระบี่ บ่งชี้การกระจายตัวของ “ไฮยีนา” ทางภาคใต้ของไทยเมื่อสองแสนปีก่อน
จุฬาฯ สนับสนุนให้อาจารย์ทำงานวิจัย นับว่าเป็นสิ่งที่ดีมากต่อทั้งอาจารย์ นิสิต รวมถึงภาคประชาสังคม รองศาสตราจารย์ ดร.สุชนา ชวนิชย์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จุฬาฯ สนับสนุนให้อาจารย์ทำงานวิจัย นับว่าเป็นสิ่งที่ดีมากต่อทั้งอาจารย์ นิสิต รวมถึงภาคประชาสังคม
รองศาสตราจารย์ ดร.สุชนา ชวนิชย์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้ เพื่อมอบประสบการณ์การใช้งานที่ดีให้กับท่าน และเพื่อพัฒนาคุณภาพการให้บริการเว็บไซต์ที่ตรงต่อความต้องการของท่านมากยิ่งขึ้น ท่านสามารถทราบรายละเอียดเกี่ยวกับคุกกี้ได้ที่ นโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล และท่านสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า
ท่านสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น
ประเภทของคุกกี้ที่มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้ท่านสามารถใช้เว็บไซต์ได้อย่างเป็นปกติ ท่านไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้
คุกกี้ประเภทนี้จะทำการเก็บข้อมูลพฤติกรรมการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน โดยมีจุดประสงค์คือนำข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้มีคุณภาพ และสร้างประสบการณ์ที่ดีกับผู้ใช้งาน เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด หากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้นี้ เราอาจไม่สามารถวัดผลเพื่อการปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้ดีขึ้นได้ รายละเอียดคุกกี้