รู้จักจุฬาฯ
การบริหาร
อัตลักษณ์มหาวิทยาลัย
Green University
Sustainability
ติดต่อจุฬาฯ
บริจาคให้จุฬาฯ
หลักสูตร
การสมัครเข้าศึกษา
หน่วยงานการศึกษา
บริการนิสิต
บริการวิชาการ
บริการทางการแพทย์
บริการตรวจวิเคราะห์คุณภาพ
สารสนเทศและการสื่อสาร
พื้นที่สร้างสรรค์
ข่าวสารและความเคลื่อนไหว
วารสารจุฬาฯ
สาระความรู้
ข่าวสารจุฬาฯ
17 พฤศจิกายน 2567
ข่าวเด่น, ภาพข่าว
รศ.ดร.ยุทธนา ฉัพพรรณรัตน์ รองอธิการบดีจุฬาฯ เป็นประธานกล่าวเปิดการอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง “ทรัพยากรท้องถิ่นเพื่อการเพิ่มพูนของระบบนิเวศ สู่ความเป็นกลางทางคาร์บอน สำหรับผู้ปฏิบัติงานในมหาวิทยาลัย” รุ่นที่ 2 เมื่อวันที่ 13 พฤศจิกายน 2567 ณ เรือนจุฬานฤมิต โดยมี ผศ.ดร.ธนสิน ชุตินธรานนท์ ผู้ช่วยอธิการบดี ด้านพันธกิจสัมพันธ์เพื่อสังคม และ ผศ.ดร.นพดล กิตนะ ผู้อำนวยการศูนย์เครือข่ายการเรียนรู้เพื่อภูมิภาค ร่วมต้อนรับผู้เข้าอบรมกว่า 50 คน ซึ่งเป็นผู้บริหาร บุคลากรในสถาบันอุดมศึกษาต่าง ๆ และนิสิตจุฬาฯ
การอบรมเชิงปฏิบัติการครั้งนี้เป็นความร่วมมือระหว่างศูนย์เครือข่ายการเรียนรู้เพื่อภูมิภาค จุฬาฯ ร่วมกับโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี และกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม จัดขึ้นระหว่างวันที่ 13-14 พฤศจิกายน 2567 โดยเน้นเนื้อหาเชิงลึก “รู้จริง ทำจริง” ครอบคลุมการคำนวณหลากหลายมิติ เช่น การคำนวณปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากกิจกรรมต่าง ๆ การวัดความสูงต้นไม้ตามหลักการทางคณิตศาสตร์ การคำนวณปริมาณคาร์บอนสะสม การคำนวณคาร์บอนฟุตพริ้นท์ ฯลฯ นอกจากนี้ยังมีการใช้บอร์ดเกม ที่ออกแบบเป็นสื่อการเรียนรู้สำหรับการคำนวณซื้อขายคาร์บอนเครดิตด้วย
อธิการบดีจุฬาฯ พบรัฐมนตรีศึกษาฯ กัมพูชา ศิษย์เก่าครุศาสตร์ กระชับความสัมพันธ์และบูรณาการความรู้เพื่อเยาวชนในภูมิภาค
นิสิตคณะอักษรศาสตร์ จุฬาฯ ชนะเลิศการแข่งขันกล่าวสุนทรพจน์ภาษาญี่ปุ่นระดับอุดมศึกษา AEON 1% Club Japanese Speech Contest 2024
Chula SIFE เปิดรับสมัคร SIFE Social Enterprise Case Competition 2025
สถาปัตย์ จุฬาฯ จัดการบรรยายพิเศษ Lecture Series ครั้งที่ 4-5 หัวข้อ “Architecture & Design for Society”
“ย่านบรรทัดทอง สวนหลวง สามย่าน” คว้ารางวัล WOW AWARDS 2025 จากสมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมภ์
สถาปัตย์ จุฬาฯ จัดการบรรยายพิเศษ Lecture Series ครั้งที่ 2-3 หัวข้อ “Architecture & Design for Society”
จุฬาฯ มีลักษณะของความเป็นพี่น้อง ความอบอุ่น เป็นสังคมที่อยากอนุรักษ์ไว้ ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จุฬาฯ มีลักษณะของความเป็นพี่น้อง ความอบอุ่น เป็นสังคมที่อยากอนุรักษ์ไว้
ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้ เพื่อมอบประสบการณ์การใช้งานที่ดีให้กับท่าน และเพื่อพัฒนาคุณภาพการให้บริการเว็บไซต์ที่ตรงต่อความต้องการของท่านมากยิ่งขึ้น ท่านสามารถทราบรายละเอียดเกี่ยวกับคุกกี้ได้ที่ นโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล และท่านสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า
ท่านสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น
ประเภทของคุกกี้ที่มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้ท่านสามารถใช้เว็บไซต์ได้อย่างเป็นปกติ ท่านไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้
คุกกี้ประเภทนี้จะทำการเก็บข้อมูลพฤติกรรมการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน โดยมีจุดประสงค์คือนำข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้มีคุณภาพ และสร้างประสบการณ์ที่ดีกับผู้ใช้งาน เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด หากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้นี้ เราอาจไม่สามารถวัดผลเพื่อการปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้ดีขึ้นได้ รายละเอียดคุกกี้