รู้จักจุฬาฯ
การบริหาร
อัตลักษณ์มหาวิทยาลัย
Green University
Sustainability
ติดต่อจุฬาฯ
บริจาคให้จุฬาฯ
หลักสูตร
การสมัครเข้าศึกษา
หน่วยงานการศึกษา
บริการนิสิต
บริการวิชาการ
บริการทางการแพทย์
บริการตรวจวิเคราะห์คุณภาพ
สารสนเทศและการสื่อสาร
พื้นที่สร้างสรรค์
ข่าวสารและความเคลื่อนไหว
วารสารจุฬาฯ
สาระความรู้
ข่าวสารจุฬาฯ
18 กุมภาพันธ์ 2568
ข่าวเด่น
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยขอเชิญชวนนิสิต ศิษย์เก่า และผู้รับบริการทุกท่าน ร่วมแสดงความคิดเห็นผ่านแบบวัดการรับรู้ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอก (EIT) เพื่อประเมินคุณภาพการดำเนินงาน ความโปร่งใส และประสิทธิภาพการให้บริการของมหาวิทยาลัย
ในปีที่ผ่านมา จุฬาฯ ได้ดำเนินโครงการสำคัญมากมาย อาทิ
– การพัฒนาระบบ One-Stop Service รองรับนิสิตและบุคลากรชาวต่างชาติ
– เปิดตัวโครงการ ChulaGENIE ขับเคลื่อนมหาวิทยาลัยสู่ยุค AI University
– การเปิดเผยข้อมูลการจัดซื้อจัดจ้างที่โปร่งใส ตรวจสอบได้
– ข้อบังคับจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ว่าด้วย ประมวลจริยธรรม พ.ศ.2567
– การยกระดับความโปร่งใสผ่านประกาศนโยบาย No Gift Policy 2568 และระบบ CU Whistleblower ที่สามารถติดตามสถานะได้
ร่วมแสดงความคิดเห็นผ่านแบบวัดการรับรู้ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอก (EIT) ได้ที่ https://itas.nacc.go.th/go/eit/jehbioเปิดรับความคิดเห็นถึงวันที่ 30 มิถุนายน 2568
ผลลัพธ์จากการประเมินนี้จะถูกนำไปใช้ในการพัฒนาองค์กร เพื่อให้จุฬาฯ เป็นสถาบันที่โปร่งใส มีธรรมาภิบาล และตอบสนองต่อความต้องการของทุกภาคส่วนได้ดียิ่งขึ้น
ศึกษาข้อมูลเพิ่มเติม ได้ที่ https://transparency.chula.ac.th/management
สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมศูนย์บริหารความเสี่ยง จุฬาฯดร.อวิรุทธ์ ฉัตรมาลาทอง (086-416-1566)นางสาวร่มหทัย โชติกโสภณ (082-992-0007)
อบรมเชิงปฏิบัติการ “S.M.A.R.T Communication: พัฒนาทักษะการสื่อสารเพื่อสร้างผลลัพธ์และบรรยากาศที่ดี”
ขอเชิญชวนคณาจารย์จุฬาฯ สมัครและเสนอชื่อผู้สมัครรับเลือกตั้งสมาชิกสภาคณาจารย์ จุฬาฯ พ.ศ. 2568
3-10 มี.ค. 2568
ขอเชิญร่วมงาน “วันอ้วนโลก“ World Obesity Day 2025 “อ้วนแล้วเปลี่ยน… เริ่มวันนี้ เพื่อชีวิตที่ยั่งยืน” 1 มีนาคม 2568 ณ ชั้น 9 อาคาร SiamScape
จุฬาฯ ร่วมเปิดงาน “เทศกาลบางแสนเพลิน” กิจกรรมสร้างสรรค์จากงานวิจัยสู่ชุมชน
พิธีบวงสรวงพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวและพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสที่จุฬาฯ อัญเชิญพระบรมฉายาลักษณ์ขึ้นประดิษฐาน ณ โถงอาคารมหาจุฬาลงกรณ์
สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาฯ ร่วมกับนิทรรศน์รัตนโกสินทร์จัดเสวนาวิชาการเรื่อง “แผ่นดินรัตนโกสินทร์ : หลอมรวมราษฎร์ ผสานวัฒนธรรม”
จุฬาฯ มีลักษณะของความเป็นพี่น้อง ความอบอุ่น เป็นสังคมที่อยากอนุรักษ์ไว้ ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จุฬาฯ มีลักษณะของความเป็นพี่น้อง ความอบอุ่น เป็นสังคมที่อยากอนุรักษ์ไว้
ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้ เพื่อมอบประสบการณ์การใช้งานที่ดีให้กับท่าน และเพื่อพัฒนาคุณภาพการให้บริการเว็บไซต์ที่ตรงต่อความต้องการของท่านมากยิ่งขึ้น ท่านสามารถทราบรายละเอียดเกี่ยวกับคุกกี้ได้ที่ นโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล และท่านสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า
ท่านสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น
ประเภทของคุกกี้ที่มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้ท่านสามารถใช้เว็บไซต์ได้อย่างเป็นปกติ ท่านไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้
คุกกี้ประเภทนี้จะทำการเก็บข้อมูลพฤติกรรมการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน โดยมีจุดประสงค์คือนำข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้มีคุณภาพ และสร้างประสบการณ์ที่ดีกับผู้ใช้งาน เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด หากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้นี้ เราอาจไม่สามารถวัดผลเพื่อการปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้ดีขึ้นได้ รายละเอียดคุกกี้