รู้จักจุฬาฯ
การบริหาร
อัตลักษณ์มหาวิทยาลัย
Green University
Sustainability
ติดต่อจุฬาฯ
บริจาคให้จุฬาฯ
หลักสูตร
การสมัครเข้าศึกษา
หน่วยงานการศึกษา
บริการนิสิต
บริการวิชาการ
บริการทางการแพทย์
บริการตรวจวิเคราะห์คุณภาพ
สารสนเทศและการสื่อสาร
พื้นที่สร้างสรรค์
ข่าวสารและความเคลื่อนไหว
วารสารจุฬาฯ
สาระความรู้
ข่าวสารจุฬาฯ
18 เมษายน 2568
งานวิจัยและนวัตกรรม, Awards & Honours, ข่าวเด่น, ความภูมิใจของจุฬาฯ, ภาพข่าว
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยขอแสดงความยินดีกับนิสิตคณะเภสัชศาสตร์ จุฬาฯ ได้รับรางวัลชนะเลิศและรองชนะเลิศจากการแข่งขัน “INNOVATORS IMPACT CHALLENGE 2025 : จุดไฟความคิดสร้างสรรค์ สู่นวัตกรรมโปรตีนจากรังไหม”
การแข่งขันดังกล่าวจัดโดยบริษัท เอนจินไลฟ์ จำกัด ร่วมกับศูนย์วิจัยวิศวกรรมชีวเวช คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาฯ มุ่งเน้นการส่งเสริมแนวคิดนวัตกรรมจากนวัตกรรุ่นใหม่ โดยเปิดโอกาสให้นิสิตจุฬาฯ ทุกชั้นปี รวมถึงบัณฑิตที่จบการศึกษาไม่เกิน 5 ปี นำเสนอแนวคิดในการนำโปรตีนไฟโบรอินจากรังไหมมาพัฒนาสู่อตสาหกรรมการแพทย์ สุขภาพ เวชสำอาง และเทคโนโลยีขั้นสูง ชิงเงินรางวัลรวมมูลค่ากว่า 100,000 บาท
รางวัลชนะเลิศ และรางวัล Popular Vote นายวรท ภิญโญศิริกุล และนางสาวปณาลี เชิดชูธรรมขจร นิสิตชั้นปีที่ 5 ชื่อนวัตกรรม : SilkNEPแนวคิด : Silk Fibroin-Coated DOTAP Nanocarriers for Neprilysin mRNA Delivery in Alzheimer’s Therapy
รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2
นายธัญณัฐ เรือนสูง นางสาวศุภากร เหล่าเรืองวัฒนะ และนางสาวจอมขวัญ ภูติยา นิสิตชั้นปีที่ 4ชื่อนวัตกรรม : SilKINแนวคิด : SilKIN – Silk Fibroin Bio-microneedle for Rejuvenated Skin
จุฬาฯ ขอแสดงความชื่นชมนิสิตจุฬาฯ ในการพัฒนานวัตกรรมที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ทางการแพทย์และสุขภาพ สอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน (SDGs) โดยเฉพาะ SDG 9: อุตสาหกรรม นวัตกรรม และโครงสร้างพื้นฐาน เพื่อขับเคลื่อนประเทศด้วยองค์ความรู้และเทคโนโลยีจากรั้วมหาวิทยาลัยสู่สังคม
นิสิตเภสัชศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ จุฬาฯ จัด “ค่าย 3 สัญจร สอนสัมพันธ์”ส่งเสริมการเรียนรู้สร้างแรงบันดาลใจให้นักเรียนจังหวัดอ่างทอง
เชิญเข้าร่วมอบรมหัวข้อ “AI กับความเป็นส่วนตัว: เราควบคุมหรือถูกควบคุม?”
9 พฤษภาคม 2568 เวลา 13.00 - 16.00 น. ห้องอำไพ สุจริตกุล คณะครุศาสตร์
การสร้าง Course Syllabus และการประเมินการเรียนการสอนผ่านระบบ myCourseVille ในระบบทวิภาค และระบบทวิภาค-นานาชาติ ภาคฤดูร้อน ปีการศึกษา 2567
ศูนย์นวัตกรรมการเรียนรู้ จุฬาฯ เชิญฟังการบรรยายพิเศษ “PDPA OK Aha! เข้าใจความท้าทายจนนำไปปฏิบัติได้”
24 เมษายน 2568 เวลา 09.00 - 12.00 น. หอประชุมคณะวิศวกรรมศาสตร์ อาคาร 3
สถาบันภาษา จุฬาฯ จัดการประชุมทางวิชาการระดับนานาชาติ ประจําปี 2568 (46th Language Testing Research Colloquium: LTRC 2025)
สถาบันการขนส่ง จุฬาฯ จัดเสวนา “การขนส่งและโลจิสติกส์ไทยในยุคสงครามการค้า”
จุฬาฯ สนับสนุนให้อาจารย์ทำงานวิจัย นับว่าเป็นสิ่งที่ดีมากต่อทั้งอาจารย์ นิสิต รวมถึงภาคประชาสังคม รองศาสตราจารย์ ดร.สุชนา ชวนิชย์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จุฬาฯ สนับสนุนให้อาจารย์ทำงานวิจัย นับว่าเป็นสิ่งที่ดีมากต่อทั้งอาจารย์ นิสิต รวมถึงภาคประชาสังคม
รองศาสตราจารย์ ดร.สุชนา ชวนิชย์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้ เพื่อมอบประสบการณ์การใช้งานที่ดีให้กับท่าน และเพื่อพัฒนาคุณภาพการให้บริการเว็บไซต์ที่ตรงต่อความต้องการของท่านมากยิ่งขึ้น ท่านสามารถทราบรายละเอียดเกี่ยวกับคุกกี้ได้ที่ นโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล และท่านสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า
ท่านสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น
ประเภทของคุกกี้ที่มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้ท่านสามารถใช้เว็บไซต์ได้อย่างเป็นปกติ ท่านไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้
คุกกี้ประเภทนี้จะทำการเก็บข้อมูลพฤติกรรมการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน โดยมีจุดประสงค์คือนำข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้มีคุณภาพ และสร้างประสบการณ์ที่ดีกับผู้ใช้งาน เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด หากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้นี้ เราอาจไม่สามารถวัดผลเพื่อการปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้ดีขึ้นได้ รายละเอียดคุกกี้