รู้จักจุฬาฯ
การบริหาร
อัตลักษณ์มหาวิทยาลัย
Green University
Sustainability
ติดต่อจุฬาฯ
บริจาคให้จุฬาฯ
หลักสูตร
การสมัครเข้าศึกษา
หน่วยงานการศึกษา
บริการนิสิต
บริการวิชาการ
บริการทางการแพทย์
บริการตรวจวิเคราะห์คุณภาพ
สารสนเทศและการสื่อสาร
พื้นที่สร้างสรรค์
ข่าวสารและความเคลื่อนไหว
วารสารจุฬาฯ
สาระความรู้
ข่าวสารจุฬาฯ
16 มิถุนายน 2563
ข่าวเด่น
ปัจจุบันโลกกำลังเผชิญกับภัยพิบัติหลากหลายรูปแบบ ซึ่งเกิดขึ้นบ่อยครั้งและทวีความรุนแรงมากขึ้นเรื่อยๆ ทั้งพายุ น้ำท่วม ดินถล่ม ไฟป่า ภัยแล้ง หมอกควัน โรคระบาด แผ่นดินไหว สึนามิ และภัยอื่นๆ สถาบันวิจัยสภาวะแวดล้อม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดย ดร.ปัณฑิตา ตันวัฒนะ นักวิจัยชำนาญการ ได้นำเสนอคู่มือ “การลดความเสี่ยงภัยพิบัติ ด้วยการเพิ่มศักยภาพของชุมชน” จากโครงการวิจัย การสร้างชุมชนและเมืองที่รู้ – รับ – ปรับ – ฟื้นจากภัยพิบัติ ด้วยกระบวนการจัดการความเสี่ยงภัยพิบัติโดยชุมชนเป็นฐาน: กรณีศึกษาชุมชนในพื้นที่เสี่ยงอุทกภัย เทศบาลน่าน เพื่อนำเสนอเป้าหมายใหม่ในการลดความเสี่ยงจากภัยพิบัติ ซึ่งเป็นแนวทางที่หลายประเทศทั่วโลกให้ความสำคัญ
กระบวนการลดหรือจัดการความเสี่ยงภัยพิบัติโดยชุมชนเป็นฐาน (Community Based Disaster Risk Reduction/ Management: CBDRR/ CBDRM) เป็นกระบวนการที่เน้นชุมชนเป็นศูนย์กลางในการร่วมกันระบุและวิเคราะห์ความเสี่ยง หาแนวทางแก้ไข ติดตามตรวจสอบและประเมินผล เพื่อนำไปสู่การลดความเสี่ยง ความเปราะบาง และเพิ่มศักยภาพของชุมชนในการรับมือกับภัยพิบัติ ซึ่งปัจจุบันมีการดำเนินงานในหลายชุมชนในประเทศไทย โดยการส่งเสริมของหน่วยงานและองค์กรจากหลายภาคส่วนทั้งในและต่างประเทศ เกิดเป็นต้นแบบการปฏิบัติที่ดีในชุมชนต่างๆ อย่างไรก็ตาม ยังมีชุมชนอีกจำนวนมากที่มีความเสี่ยง และยังขาดข้อมูลความเสี่ยงภัยและยังต้องอาศัยกระบวนการ CBDRR/ CBDRM ในการจัดการชุมชน เพื่อให้มีศักยภาพในการปรับตัวและฟื้นตัวจากภัยพิบัติ
ผู้สนใจสามารถดาวโหลดหนังสือคู่มือ “การลดความเสี่ยงภัยพิบัติ ด้วยการเพิ่มศักยภาพของชุมชน” ฟรีได้ที่ http://www.eric.chula.ac.th/news_detail.php?news_no=77
อาจารย์คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาฯ ค้นพบหลักฐานใหม่ในถ้ำกระบี่ บ่งชี้การกระจายตัวของ “ไฮยีนา” ทางภาคใต้ของไทยเมื่อสองแสนปีก่อน
จุฬาฯ จัดประชุมสมาชิกกองทุนสำรองเลี้ยงชีพของพนักงานมหาวิทยาลัย ครั้งที่ 1 ประจำปี 2568
“Songkran X Pride Festival 2025” ร่วมสาดความสุขในงานสงกรานต์ 11 เมษายนนี้
11 เม.ย. 68
ลานหน้าพระบรมราชานุสาวรีย์สองรัชกาล จุฬาฯ
วารสารภาษา สถาบันภาษา จุฬาฯ จัดเสวนาวิชาการ “Authoring Manuscripts” เสริมทักษะการเขียนบทความเพื่อตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ
อธิการบดีจุฬาฯ เข้าพบหารือเอกอัครราชทูตไทย ณ กรุงมาดริด สานสัมพันธ์การศึกษาไทย-สเปน
จุฬาฯ กระชับความร่วมมือ IE University Top 10 ของโลกด้านการตลาดและบริหารธุรกิจ ก้าวสู่เครือข่ายวิชาการระดับโลก
จุฬาฯ มีลักษณะของความเป็นพี่น้อง ความอบอุ่น เป็นสังคมที่อยากอนุรักษ์ไว้ ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จุฬาฯ มีลักษณะของความเป็นพี่น้อง ความอบอุ่น เป็นสังคมที่อยากอนุรักษ์ไว้
ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้ เพื่อมอบประสบการณ์การใช้งานที่ดีให้กับท่าน และเพื่อพัฒนาคุณภาพการให้บริการเว็บไซต์ที่ตรงต่อความต้องการของท่านมากยิ่งขึ้น ท่านสามารถทราบรายละเอียดเกี่ยวกับคุกกี้ได้ที่ นโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล และท่านสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า
ท่านสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น
ประเภทของคุกกี้ที่มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้ท่านสามารถใช้เว็บไซต์ได้อย่างเป็นปกติ ท่านไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้
คุกกี้ประเภทนี้จะทำการเก็บข้อมูลพฤติกรรมการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน โดยมีจุดประสงค์คือนำข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้มีคุณภาพ และสร้างประสบการณ์ที่ดีกับผู้ใช้งาน เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด หากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้นี้ เราอาจไม่สามารถวัดผลเพื่อการปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้ดีขึ้นได้ รายละเอียดคุกกี้