รู้จักจุฬาฯ
การบริหาร
อัตลักษณ์มหาวิทยาลัย
Green University
Sustainability
ติดต่อจุฬาฯ
บริจาคให้จุฬาฯ
หลักสูตร
การสมัครเข้าศึกษา
หน่วยงานการศึกษา
บริการนิสิต
บริการวิชาการ
บริการทางการแพทย์
บริการตรวจวิเคราะห์คุณภาพ
สารสนเทศและการสื่อสาร
พื้นที่สร้างสรรค์
ข่าวสารและความเคลื่อนไหว
วารสารจุฬาฯ
สาระความรู้
ข่าวสารจุฬาฯ
28 มิถุนายน 2563
ข่าวเด่น
ศูนย์บริหารความเสี่ยง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย นำผลการจัดอันดับ IMD’s World Competitiveness Ranking 2020 ด้านการศึกษา (Education) มาวิเคราะห์ประเด็นความเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้นในระบบอุดมศึกษาและมหาวิทยาลัยไทย นำเสนอในบทความชื่อ “Zoom ความเสี่ยงมหาวิทยาลัยไทยผ่าน IMD’s World Competitiveness 2020” ซึ่งกล่าวถึงประเด็นความเสี่ยงที่มีความเป็นไปได้ ประกอบด้วย
1. ผู้เรียนในประเทศทุกระดับมีแนวโน้มลดลง
2. ผู้เรียนชาวต่างชาติมีแนวโน้มลดลง
3. สร้างผู้ตามมากกว่าผู้นำ
4. การลงทุนในทรัพยากรที่สูญเปล่า
5. ต้นทุนที่ไม่จำเป็นที่เพิ่มขึ้น
6. ความไม่มั่นคงทางการเงินของมหาวิทยาลัย
ประเด็นความเสี่ยงข้างต้นเป็นเพียงการวิเคราะห์จากผลการจัดขีดความสามารถด้านการศึกษา (Education) ซึ่งเป็นส่วนย่อยของ IMD’s World Competitiveness เท่านั้น ในความเป็นจริงอาจมีหลายปัจจัยที่เป็นชนวนก่อให้เกิดความเสี่ยงแก่มหาวิทยาลัยที่มาจากระบบเศรษฐกิจและสังคมทั้งภายในและต่างประเทศ การบริหารจัดการมหาวิทยาลัยในโลกที่ทุกมิติในชีวิตเราเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็วตลอดเวลา (VUCA World) จึงมีความท้าทายอย่างยิ่ง
อ่านเนื้อหาฉบับเต็มได้ที่:
Zoom ความเสี่ยงมหาวิทยาลัยไทยผ่าน IMD’s World Competitiveness 2020
จุฬาฯ จัดงาน “สยามานุสสติ ผสาน…ปณิธาน” การแสดงทางศิลปวัฒนธรรมโดยนิสิตจุฬาฯ
นิสิตคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาฯ และคณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาฯ คว้ารางวัลชนะเลิศจากการแข่งขัน Spark the Local 2024 by PTT
บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาฯ เปิดอบรมหลักสูตร “เครื่องมือการจัดการสิ่งแวดล้อม”
คณะสถาปัตย์ จุฬาฯ ต้อนรับผู้แทนจาก Indiana University สหรัฐอเมริกา เจรจาแนวทางความร่วมมือทางวิชาการ
ศศินทร์จัด Open House แนะนำหลักสูตรต่างๆ วันเสาร์ที่ 30 พฤศจิกายน 2567
30 พ.ย. 67 เวลา 10.00 น.
ศศินทร์ จุฬาฯ
เชิญฟังการบรรยาย Chula Lunch Talk หัวข้อ “Smart VET-Learning: นวัตกรรม AR สู่การศึกษาสัตวแพทย์ยุคดิจิทัล”
จุฬาฯ มีลักษณะของความเป็นพี่น้อง ความอบอุ่น เป็นสังคมที่อยากอนุรักษ์ไว้ ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จุฬาฯ มีลักษณะของความเป็นพี่น้อง ความอบอุ่น เป็นสังคมที่อยากอนุรักษ์ไว้
ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้ เพื่อมอบประสบการณ์การใช้งานที่ดีให้กับท่าน และเพื่อพัฒนาคุณภาพการให้บริการเว็บไซต์ที่ตรงต่อความต้องการของท่านมากยิ่งขึ้น ท่านสามารถทราบรายละเอียดเกี่ยวกับคุกกี้ได้ที่ นโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล และท่านสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า
ท่านสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น
ประเภทของคุกกี้ที่มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้ท่านสามารถใช้เว็บไซต์ได้อย่างเป็นปกติ ท่านไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้
คุกกี้ประเภทนี้จะทำการเก็บข้อมูลพฤติกรรมการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน โดยมีจุดประสงค์คือนำข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้มีคุณภาพ และสร้างประสบการณ์ที่ดีกับผู้ใช้งาน เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด หากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้นี้ เราอาจไม่สามารถวัดผลเพื่อการปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้ดีขึ้นได้ รายละเอียดคุกกี้