รู้จักจุฬาฯ
การบริหาร
อัตลักษณ์มหาวิทยาลัย
Green University
Sustainability
ติดต่อจุฬาฯ
บริจาคให้จุฬาฯ
หลักสูตร
การสมัครเข้าศึกษา
หน่วยงานการศึกษา
บริการนิสิต
บริการวิชาการ
บริการทางการแพทย์
บริการตรวจวิเคราะห์คุณภาพ
สารสนเทศและการสื่อสาร
พื้นที่สร้างสรรค์
ข่าวสารและความเคลื่อนไหว
วารสารจุฬาฯ
สาระความรู้
ข่าวสารจุฬาฯ
9 กรกฎาคม 2563
ข่าวเด่น
คณะนิติศาสตร์ จุฬาฯ ร่วมกับศูนย์จีนศึกษา สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาฯ ขอเชิญชมการ Live สด การเสวนาวิชาการเรื่อง “ประมวลกฎหมายแพ่งฉบับใหม่ของจีน: ซีวิลลอว์ในโลก 5.0” ทางเพจคณะนิติศาสตร์ จุฬาฯ และเพจศูนย์จีนศึกษา สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาฯ ในวันเสาร์ที่ 11 กรกฎาคม 2563 เวลา 13.30 – 16.00 น.ประมวลกฎหมายแพ่งฉบับใหม่ของจีน กำลังจะมีผลบังคับใช้ในวันที่ 1 มกราคม 2564 อันเป็นผลจากกระบวนการจัดทำประมวลกฎหมายแพ่งที่ยาวนาน อาศัยการจัดและรวบรวมกฎหมายแพ่งฉบับต่างๆ ของจีนให้เป็นระบบ รวมทั้งปรับแก้บทบัญญัติของกฎหมายแพ่งให้สอดคล้องกับเศรษฐกิจสังคมจีนยุค 5.0 การจัดทำประมวลกฎหมายชิ้นประวัติศาสตร์นี้มีที่มาอย่างไร? บทบัญญัติทางแพ่งที่เป็นนิตินวัตกรรมใหม่เพื่อสอดรับกับยุคดิจิทัลมีอะไรบ้าง? กฎหมายเปรียบเทียบ ประมวลกฎหมายแพ่งของจีนเดินตามโมเดลฝรั่งเศส เยอรมัน หรือมีเอกลักษณ์พิเศษของตน เทคนิคการร่างกฎหมาย ประมวลกฎหมายแพ่งของจีนสะท้อนนวัตกรรมในการจัดทำประมวลกฎหมายและการร่างกฎหมายสมัยใหม่อย่างไร พบคำตอบได้จากวิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิในการเสวนาครั้งนี้รายละเอียดเพิ่มเติม:https://web.facebook.com/LawChula/https://web.facebook.com/ChineseStudiesCenterChula/
จุฬาฯ เจ้าภาพการประชุมสามัญที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย และสมาคมที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 1/2568
จุฬาฯ จัดงานเลี้ยงรับรองผู้บริหารมหาวิทยาลัยที่เข้าร่วมการประชุมสามัญ ทปอ. ครั้งที่ 1/2568
อบรมเชิงปฏิบัติการ “S.M.A.R.T Communication: พัฒนาทักษะการสื่อสารเพื่อสร้างผลลัพธ์และบรรยากาศที่ดี”
ขอเชิญชวนคณาจารย์จุฬาฯ สมัครและเสนอชื่อผู้สมัครรับเลือกตั้งสมาชิกสภาคณาจารย์ จุฬาฯ พ.ศ. 2568
3-10 มี.ค. 2568
ขอเชิญร่วมงาน “วันอ้วนโลก“ World Obesity Day 2025 “อ้วนแล้วเปลี่ยน… เริ่มวันนี้ เพื่อชีวิตที่ยั่งยืน” 1 มีนาคม 2568 ณ ชั้น 9 อาคาร SiamScape
1 มีนาคม 2568 เวลา 09.30-15.00 น. ชั้น 9 อาคาร SiamScape
จุฬาฯ ร่วมเปิดงาน “เทศกาลบางแสนเพลิน” กิจกรรมสร้างสรรค์จากงานวิจัยสู่ชุมชน
จุฬาฯ มีลักษณะของความเป็นพี่น้อง ความอบอุ่น เป็นสังคมที่อยากอนุรักษ์ไว้ ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จุฬาฯ มีลักษณะของความเป็นพี่น้อง ความอบอุ่น เป็นสังคมที่อยากอนุรักษ์ไว้
ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้ เพื่อมอบประสบการณ์การใช้งานที่ดีให้กับท่าน และเพื่อพัฒนาคุณภาพการให้บริการเว็บไซต์ที่ตรงต่อความต้องการของท่านมากยิ่งขึ้น ท่านสามารถทราบรายละเอียดเกี่ยวกับคุกกี้ได้ที่ นโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล และท่านสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า
ท่านสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น
ประเภทของคุกกี้ที่มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้ท่านสามารถใช้เว็บไซต์ได้อย่างเป็นปกติ ท่านไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้
คุกกี้ประเภทนี้จะทำการเก็บข้อมูลพฤติกรรมการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน โดยมีจุดประสงค์คือนำข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้มีคุณภาพ และสร้างประสบการณ์ที่ดีกับผู้ใช้งาน เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด หากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้นี้ เราอาจไม่สามารถวัดผลเพื่อการปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้ดีขึ้นได้ รายละเอียดคุกกี้