รู้จักจุฬาฯ
การบริหาร
อัตลักษณ์มหาวิทยาลัย
Green University
Sustainability
ติดต่อจุฬาฯ
บริจาคให้จุฬาฯ
หลักสูตร
การสมัครเข้าศึกษา
หน่วยงานการศึกษา
บริการนิสิต
บริการวิชาการ
บริการทางการแพทย์
บริการตรวจวิเคราะห์คุณภาพ
สารสนเทศและการสื่อสาร
พื้นที่สร้างสรรค์
ข่าวสารและความเคลื่อนไหว
วารสารจุฬาฯ
สาระความรู้
ข่าวสารจุฬาฯ
10 กรกฎาคม 2563
ข่าวเด่น
จากกรณีที่มีข่าวทางสื่อสังคมออนไลน์ เตือนภัยในช่วงหน้าฝนสำหรับคนที่เลี้ยงสุนัขควรระมัดระวังในเรื่องเห็บจากสุนัขเข้าไปในหูจนตัวโตพร้อมวางไข่ โชคดีที่มาพบแพทย์และเอาออกได้ทันนั้น รศ.น.สพ.ดร.สนธยา เตียวศิริทรัพย์ หน่วยปรสิตวิทยา ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายวิชาการ คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาฯ ได้ให้ความรู้ในเรื่องดังกล่าวว่า โอกาสที่เห็บจะเข้าไปในหูคนนั้นเกิดขึ้นได้แต่ค่อนข้างน้อย เพราะโดยธรรมชาติของเห็บแล้วจะชอบดูดเลือดจากสุนัขมากกว่า เว้นแต่จะเป็นอุบัติเหตุที่นานๆ ครั้งอาจเกิดขึ้นได้ ในกรณีที่บ้านเลี้ยงสุนัขและมีการป้องกันเห็บบนตัวสุนัขได้ไม่ดีพอ อาจทำให้ในบ้านมีเห็บจำนวนมากและสามารถเข้ามาใกล้ตัวเราได้ อย่างไรก็ตาม นอกจากเห็บในสัตว์เลี้ยงของเราแล้ว ยังมีเห็บที่อยู่ในสัตว์ป่าหลายชนิดที่เป็นอันตรายกับเราได้ ถ้าหากไปเที่ยวตามป่าเขา กางเต๊นท์นอนในป่า ก็ต้องระมัดระวังเห็บที่อาจจะเข้าไปในหูของเราได้เช่นกัน
รศ.น.สพ.ดร.สนธยาได้แนะนำวิธีการป้องกันปัญหาเห็บในสุนัข เริ่มตั้งแต่การใช้ยาฉีด ยากิน สเปรย์ฉีดพ่นตามตัว ยาหยอดหลัง รวมถึงปลอกคอที่จะช่วยไล่เห็บไม่ให้มาดูดเลือดสุนัข แต่จะเลือกวิธีใดนั้นแนะนำว่าให้ปรึกษาสัตวแพทย์เป็นการดีที่สุด
คณะแพทยศาสตร์ จุฬาฯ เชิญร่วมบริจาคสมทบกองทุนเพื่อการวิจัยด้านศัลยศาสตร์ สนับสนุนการพัฒนาและนวัตกรรมทางการแพทย์
เชิญชวนบุคลากรจุฬาฯ ร่วมกิจกรรม “เฮลท์ตี้…Young? เติมพลังชาวจุฬาฯ” รุ่นที่ 2
จุฬาฯ จับมือ SE Life อาคเนย์ประกันชีวิต มอบความคุ้มครองให้บุคลากร ปีที่ 2 พร้อมลงนามสัญญายกระดับให้บริการทันตกรรม
บทความพิเศษ ศศินทร์ จุฬาฯ: ส่องการศึกษาไทยในยุคที่เด็กเกิดน้อย
จุฬาฯ – สสว. ส่งเสริม SMEs ไทยสู่ความมั่นคงและยั่งยืนด้วยนวัตกรรม AI รายงาน Carbon Footprint
อธิการบดีจุฬาฯ ชี้อนาคตการศึกษาที่ขับเคลื่อนด้วย AI ความท้าทายของสถาบันอุดมศึกษาที่จะต้องปรับบทบาทใหม่
จุฬาฯ มีลักษณะของความเป็นพี่น้อง ความอบอุ่น เป็นสังคมที่อยากอนุรักษ์ไว้ ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จุฬาฯ มีลักษณะของความเป็นพี่น้อง ความอบอุ่น เป็นสังคมที่อยากอนุรักษ์ไว้
ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้ เพื่อมอบประสบการณ์การใช้งานที่ดีให้กับท่าน และเพื่อพัฒนาคุณภาพการให้บริการเว็บไซต์ที่ตรงต่อความต้องการของท่านมากยิ่งขึ้น ท่านสามารถทราบรายละเอียดเกี่ยวกับคุกกี้ได้ที่ นโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล และท่านสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า
ท่านสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น
ประเภทของคุกกี้ที่มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้ท่านสามารถใช้เว็บไซต์ได้อย่างเป็นปกติ ท่านไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้
คุกกี้ประเภทนี้จะทำการเก็บข้อมูลพฤติกรรมการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน โดยมีจุดประสงค์คือนำข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้มีคุณภาพ และสร้างประสบการณ์ที่ดีกับผู้ใช้งาน เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด หากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้นี้ เราอาจไม่สามารถวัดผลเพื่อการปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้ดีขึ้นได้ รายละเอียดคุกกี้