รู้จักจุฬาฯ
การบริหาร
อัตลักษณ์มหาวิทยาลัย
Green University
Sustainability
ติดต่อจุฬาฯ
บริจาคให้จุฬาฯ
หลักสูตร
การสมัครเข้าศึกษา
หน่วยงานการศึกษา
บริการนิสิต
บริการวิชาการ
บริการทางการแพทย์
บริการตรวจวิเคราะห์คุณภาพ
สารสนเทศและการสื่อสาร
พื้นที่สร้างสรรค์
ข่าวสารและความเคลื่อนไหว
วารสารจุฬาฯ
สาระความรู้
ข่าวสารจุฬาฯ
15 พฤศจิกายน 2563
ข่าวเด่น
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยดำเนินโครงการปรับปรุงทางเดินบริเวณอาคารจุลจักรพงษ์ และโครงการการจัดการระบบการสัญจร ปรับปรุงทางสัญจรสำหรับผู้มีข้อจำกัดทางการเคลื่อนไหว บริเวณถนนหน้าอาคารชีววิทยา 1 คณะวิทยาศาสตร์ ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้
– โครงการปรับปรุงทางเดินบริเวณอาคารจุลจักรพงษ์ ตั้งแต่วันที่ 14 พฤศจิกายน – 23 ธันวาคม 2563 โดยจะมีการก่อสร้างทางข้ามบริเวณอาคารจุลจักรพงษ์ จึงมีความจำเป็นต้องปิดถนน 1 เลน แบ่งออกเป็นช่วงที่ 1 จะปิดถนน 1 เลนฝั่งติดอาคารจุลจักรพงษ์ ตั้งแต่วันที่ 14 พฤศจิกายน – 3 ธันวาคม 2563 และช่วงที่ 2 จะปิดถนน 1 เลนฝั่งติดอาคารมหามงกุฎ ตั้งแต่วันที่ 4 – 23 ธันวาคม 2563
– โครงการการจัดการระบบการสัญจร ปรับปรุงทางสัญจรสำหรับผู้มีข้อจำกัดทางการเคลื่อนไหว บริเวณถนนหน้าอาคารชีววิทยา 1 คณะวิทยาศาสตร์ ระหว่างวันที่ 16 พฤศจิกายน – 15 ธันวาคม 2563 จึงมีความจำเป็นต้องปิดถนน 1 เลนเพื่อก่อสร้างทางข้ามดังกล่าว แบ่งออกเป็น 2 ช่วงคือ ช่วงที่ 1 ปิดถนน 1 เลนฝั่งติดคณะวิทยาศาสตร์ ตั้งแต่วันที่ 16 – 30 พฤศจิกายน 2563 และช่วงที่ 2 ปิดถนน 1 เลนฝั่งติดสนาม ตั้งแต่วันที่ 1 – 15 ธันวาคม 2563
ทั้งนี้มหาวิทยาลัยโดยสำนักบริหารระบบกายภาพจะกำชับให้ผู้รับจ้างดำเนินการด้วยความเรียบร้อยและก่อให้เกิดการรบกวนต่อบริเวณโดยรอบให้น้อยที่สุด หากเกิดความไม่สะดวกหรือปัญหาอื่นใดเนื่องมาจากงานดังกล่าว สามารถแจ้งได้ที่ฝ่ายวางแผน ออกแบบและสารสนเทศระบบกายภาพ โทร. 0-2218-0145 และ 0-2218-0251-2
คณะแพทยศาสตร์ จุฬาฯ เชิญร่วมบริจาคสมทบกองทุนเพื่อการวิจัยด้านศัลยศาสตร์ สนับสนุนการพัฒนาและนวัตกรรมทางการแพทย์
เชิญชวนบุคลากรจุฬาฯ ร่วมกิจกรรม “เฮลท์ตี้…Young? เติมพลังชาวจุฬาฯ” รุ่นที่ 2
จุฬาฯ จับมือ SE Life อาคเนย์ประกันชีวิต มอบความคุ้มครองให้บุคลากร ปีที่ 2 พร้อมลงนามสัญญายกระดับให้บริการทันตกรรม
บทความพิเศษ ศศินทร์ จุฬาฯ: ส่องการศึกษาไทยในยุคที่เด็กเกิดน้อย
จุฬาฯ – สสว. ส่งเสริม SMEs ไทยสู่ความมั่นคงและยั่งยืนด้วยนวัตกรรม AI รายงาน Carbon Footprint
อธิการบดีจุฬาฯ ชี้อนาคตการศึกษาที่ขับเคลื่อนด้วย AI ความท้าทายของสถาบันอุดมศึกษาที่จะต้องปรับบทบาทใหม่
จุฬาฯ มีลักษณะของความเป็นพี่น้อง ความอบอุ่น เป็นสังคมที่อยากอนุรักษ์ไว้ ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จุฬาฯ มีลักษณะของความเป็นพี่น้อง ความอบอุ่น เป็นสังคมที่อยากอนุรักษ์ไว้
ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้ เพื่อมอบประสบการณ์การใช้งานที่ดีให้กับท่าน และเพื่อพัฒนาคุณภาพการให้บริการเว็บไซต์ที่ตรงต่อความต้องการของท่านมากยิ่งขึ้น ท่านสามารถทราบรายละเอียดเกี่ยวกับคุกกี้ได้ที่ นโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล และท่านสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า
ท่านสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น
ประเภทของคุกกี้ที่มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้ท่านสามารถใช้เว็บไซต์ได้อย่างเป็นปกติ ท่านไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้
คุกกี้ประเภทนี้จะทำการเก็บข้อมูลพฤติกรรมการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน โดยมีจุดประสงค์คือนำข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้มีคุณภาพ และสร้างประสบการณ์ที่ดีกับผู้ใช้งาน เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด หากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้นี้ เราอาจไม่สามารถวัดผลเพื่อการปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้ดีขึ้นได้ รายละเอียดคุกกี้