รู้จักจุฬาฯ
การบริหาร
อัตลักษณ์มหาวิทยาลัย
Green University
Sustainability
ติดต่อจุฬาฯ
บริจาคให้จุฬาฯ
หลักสูตร
การสมัครเข้าศึกษา
หน่วยงานการศึกษา
บริการนิสิต
บริการวิชาการ
บริการทางการแพทย์
บริการตรวจวิเคราะห์คุณภาพ
สารสนเทศและการสื่อสาร
พื้นที่สร้างสรรค์
ข่าวสารและความเคลื่อนไหว
วารสารจุฬาฯ
สาระความรู้
ข่าวสารจุฬาฯ
18 มีนาคม 2564
Featured News, ข่าวเด่น, ความภูมิใจของจุฬาฯ
ผลการจัดอันดับมหาวิทยาลัยชั้นนำของโลกในสาขาวิชาต่างๆ โดย QS World University Rankings by Subject 2021 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้รับการจัดอันดับเป็นมหาวิทยาลัยอันดับ 1 ของประเทศไทยรวมทั้งสิ้น 22 สาขา โดยมี 2 สาขาวิชาที่ติดอันดับ Top 100 ของโลก ได้แก่ Petroleum Engineering และ Social Policy & Administration นอกจากนี้ยังมีสาขาวิชาที่ติด Top 150 ของโลก 3 สาขา ได้แก่ Architecture / Built Environment, Geography และ Politics & International Studies
สำหรับสาขาอื่นๆ ของจุฬาฯ ที่ติดอันดับ 1 ของมหาวิทยาลัยไทยได้แก่
– Linguistics
– Engineering – Chemical
– Environmental Sciences
– Business & Management Studies
– Law
– Sociology
– Art & Design
– Modern Languages
– Engineering – Electrical & Electronic
– Chemistry
– Accounting & Finance
– Engineering – Mechanical, Aeronautical
– Economics & Econometrics
– Education
– Materials Science
– Physics & Astronomy
– Computer Science & Info Systems
ทั้งนี้ ตัวชี้วัดในการจัดอันดับมหาวิทยาลัยโดย QS World University Rankings by Subject ประกอบด้วย ชื่อเสียงทางวิชาการ (Academic Reputation) ชื่อเสียงจากผู้ว่าจ้างบัณฑิต (Employer Reputation) ผลงานวิจัยที่ได้รับการอ้างอิง (Research citations per paper) และความโดดเด่นทางวิชาการ (H-Index)
ประกาศ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เรื่อง แนวปฏิบัติเพื่อรองรับมาตรการจัดการในสถานการณ์ปริมาณฝุ่น PM2.5 สำหรับการปฏิบัติงานระหว่างวันที่ 27-31 มกราคม 2568
ประกาศ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เรื่อง การจัดการเรียนการสอนในช่วงสถานการณ์ปริมาณฝุ่น PM2.5 ระหว่างวันที่ 27-31 มกราคม 2568
จุฬาฯ อันดับ 1 มหาวิทยาลัยไทยที่มีจำนวนศาสตราจารย์มากที่สุดถึง 240 คน
CHULA THAILAND PRESIDENTS SUMMIT 2025 ครั้งแรกกับการรวมตัวครั้งยิ่งใหญ่เพื่ออนาคตประเทศไทย! รับชมสดผ่าน Facebook Live
จุฬาฯ-มหิดล จับมือขับเคลื่อนพันธกิจสัมพันธ์เพื่อสังคม “คติชนน่าน ตระการใจ”
จุฬาฯ พร้อมเป็นเจ้าภาพการประชุม c-อพ.สธ. 2569 ทั่วประเทศ
จุฬาฯ มีลักษณะของความเป็นพี่น้อง ความอบอุ่น เป็นสังคมที่อยากอนุรักษ์ไว้ ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จุฬาฯ มีลักษณะของความเป็นพี่น้อง ความอบอุ่น เป็นสังคมที่อยากอนุรักษ์ไว้
ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้ เพื่อมอบประสบการณ์การใช้งานที่ดีให้กับท่าน และเพื่อพัฒนาคุณภาพการให้บริการเว็บไซต์ที่ตรงต่อความต้องการของท่านมากยิ่งขึ้น ท่านสามารถทราบรายละเอียดเกี่ยวกับคุกกี้ได้ที่ นโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล และท่านสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า
ท่านสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น
ประเภทของคุกกี้ที่มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้ท่านสามารถใช้เว็บไซต์ได้อย่างเป็นปกติ ท่านไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้
คุกกี้ประเภทนี้จะทำการเก็บข้อมูลพฤติกรรมการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน โดยมีจุดประสงค์คือนำข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้มีคุณภาพ และสร้างประสบการณ์ที่ดีกับผู้ใช้งาน เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด หากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้นี้ เราอาจไม่สามารถวัดผลเพื่อการปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้ดีขึ้นได้ รายละเอียดคุกกี้