รู้จักจุฬาฯ
การบริหาร
อัตลักษณ์มหาวิทยาลัย
Green University
Sustainability
ติดต่อจุฬาฯ
บริจาคให้จุฬาฯ
หลักสูตร
การสมัครเข้าศึกษา
หน่วยงานการศึกษา
บริการนิสิต
บริการวิชาการ
บริการทางการแพทย์
บริการตรวจวิเคราะห์คุณภาพ
สารสนเทศและการสื่อสาร
พื้นที่สร้างสรรค์
ข่าวสารและความเคลื่อนไหว
วารสารจุฬาฯ
สาระความรู้
ข่าวสารจุฬาฯ
23 เมษายน 2564
ข่าวเด่น, ความภูมิใจของจุฬาฯ
ผลงาน “นวัตกรรมเพื่อสังคม” ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สร้างชื่อให้มหาวิทยาลัยไทย ครองอันดับที่ 1 ของเอเชีย และอันดับที่ 23 ของโลก จากการจัดอันดับมหาวิทยาลัยโดย THE Impact Ranking ปี 2021 ซึ่งเป็นการจัดอันดับมหาวิทยาลัยระดับโลกที่สร้างผลกระทบต่อสังคมสูง จากมหาวิทยาลัยทั่วโลก 1,115 แห่ง ซึ่งถือเป็นอันดับที่สูงที่สุดที่มหาวิทยาลัยไทยเคยได้รับ โดยคะแนนรวมของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยที่ติด Top 4 SDG ในปีนี้ ได้แก่ SDG 3 (สุขภาพและความเป็นอยู่ที่ดี) SDG 9 (โครงสร้างพื้นฐาน นวัตกรรมและอุตสาหกรรม) SDG 15 (ระบบนิเวศบนบก) และ SDG 17 (ความร่วมมือเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน)
สำหรับผลงานที่โดดเด่นของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยตามเป้าหมายของ SDG ที่จุฬาฯ เข้าร่วมมีดังนี้
– SDG 8 (การจ้างงานที่มีคุณค่าและการเติบโตทางเศรษฐกิจ) จุฬาฯ ติด Top 1 in ASEAN
อันดับ 92 Chulalongkorn University (68.8 )
อันดับ 96 Universitas Gadjah Mada (68.7)
อันดับ 98 Prince of Songkla University (68.5)
– SDG 9 (โครงสร้างพื้นฐาน นวัตกรรมและอุตสาหกรรม) จุฬาฯ ติด Top 1 in ASEAN
อันดับ 60 Chulalongkorn University (92.1)
อันดับ 66 UniversitiTeknologi Malaysia (90.3)
อันดับ 78 Universiti Putra Malaysia (87.9)
– SDG 14 (ทรัพยากรทางทะเล) จุฬาฯ ติด Top 2 in ASEAN
อันดับ 8 Hasanuddin University (89.1)
อันดับ 9 Chulalongkorn University (88.8 )
อันดับ 22 Universitas Gadjah Mada (81.1)
– SDG 15 (ระบบนิเวศบนบก) จุฬาฯ ติด Top 1 in ASEAN
อันดับ 10 Chulalongkorn University (88.1)
อันดับ 42 Universitas Gadjah Mada (77.0)
อันดับ 52 University of Brawijaya (73.2)
– SDG 17 (ความร่วมมือเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน) จุฬาฯ ติด Top 1 in ASEAN
อันดับ 44 Chulalongkorn University (90.5)
อันดับ 44 Universitas Gadjah Mada (90.5)
อันดับ 47 KMUTT (89.7)
ความสำเร็จของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยในครั้งนี้ถือเป็นครั้งแรกที่มหาวิทยาลัยของไทย ได้ขึ้นสู่อันดับ Top 23 ของโลกและอันดับ 1 ของเอเชีย ในการจัดอันดับมหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงดังกล่าว
ครุศาสตร์ จุฬาฯ เชิญร่วมสองกิจกรรมโครงการ “เล่นเพลินสำหรับเด็กปฐมวัย” “นิทานฟังเพลิน” และ “Happy Play Day”
อาจารย์คณะแพทยศาสตร์ จุฬาฯ ได้รับการเชิดชูเกียรติเป็น “อาจารย์ดีเด่นแห่งชาติ ปอมท.” ประจำปี 2567
อธิการบดีจุฬาฯ ได้รับเลือกเป็นประธานสมาคมสถาบันการศึกษาขั้นอุดมแห่งภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (ASAIHL) ปี 2025-2026
นิสิตภาควิชาสถิติ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาฯ คว้ารางวัลชนะเลิศการแข่งขัน CHOICEISYOURS 2024
จุฬาฯ เชิญชวนร่วมงาน “One Stop Open House 2024” โดยกระทรวง อว. ระหว่างวันที่ 27 พ.ย. – 1 ธ.ค. 2567 ณ ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์
เชิญผู้สนใจเข้าร่วมโครงการฝึกอบรมด้านจิตวิทยา “BRIDGING DISCIPLINES: Incorporate Psychology into Your Endeavor”
8 ม.ค. 2568 เวลา 09.00 – 16.00 น.
ชั้น 6 อาคารบรมราชชนนีศรีศตพรรษ คณะจิตวิทยา จุฬาฯ
จุฬาฯ มีลักษณะของความเป็นพี่น้อง ความอบอุ่น เป็นสังคมที่อยากอนุรักษ์ไว้ ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จุฬาฯ มีลักษณะของความเป็นพี่น้อง ความอบอุ่น เป็นสังคมที่อยากอนุรักษ์ไว้
ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้ เพื่อมอบประสบการณ์การใช้งานที่ดีให้กับท่าน และเพื่อพัฒนาคุณภาพการให้บริการเว็บไซต์ที่ตรงต่อความต้องการของท่านมากยิ่งขึ้น ท่านสามารถทราบรายละเอียดเกี่ยวกับคุกกี้ได้ที่ นโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล และท่านสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า
ท่านสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น
ประเภทของคุกกี้ที่มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้ท่านสามารถใช้เว็บไซต์ได้อย่างเป็นปกติ ท่านไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้
คุกกี้ประเภทนี้จะทำการเก็บข้อมูลพฤติกรรมการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน โดยมีจุดประสงค์คือนำข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้มีคุณภาพ และสร้างประสบการณ์ที่ดีกับผู้ใช้งาน เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด หากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้นี้ เราอาจไม่สามารถวัดผลเพื่อการปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้ดีขึ้นได้ รายละเอียดคุกกี้