รู้จักจุฬาฯ
การบริหาร
อัตลักษณ์มหาวิทยาลัย
Green University
Sustainability
ติดต่อจุฬาฯ
บริจาคให้จุฬาฯ
หลักสูตร
การสมัครเข้าศึกษา
หน่วยงานการศึกษา
บริการนิสิต
บริการวิชาการ
บริการทางการแพทย์
บริการตรวจวิเคราะห์คุณภาพ
สารสนเทศและการสื่อสาร
พื้นที่สร้างสรรค์
ข่าวสารและความเคลื่อนไหว
วารสารจุฬาฯ
สาระความรู้
ข่าวสารจุฬาฯ
20 พฤษภาคม 2564
ข่าวเด่น
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยไขข้อข้องใจวัคซีนโควิด-19 เรื่องประสิทธิภาพวัคซีน ผลข้างเคียงวัคซีน ควรฉีดวัคซีนหรือไม่ รอคนอื่นฉีดก่อนดีไหม ตอบทุกคำถามโดย ผศ.นพ.โอภาส พุทธเจริญ หัวหน้าศูนย์โรคอุบัติใหม่ทางคลินิก โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย
Q: วัคซีนโควิด-19 ไม่มีประสิทธิภาพจริงหรือ?A: วัคซีนทุกตัวที่ใช้อยู่ทั่วโลกรวมถึงประเทศไทย “มีประสิทธิภาพ” โดยทุกวัคซีนเน้นการป้องกันการเสียชีวิต และป้องกันการเกิดโรครุนแรง
Q: ฉีดวัคซีนแล้วมีผลข้างเคียงสูงมาก?A: การฉีดวัคซีนอาจมีผลข้างเคียงเล็กๆ น้อยๆ เหมือนเวลาฉีดยาทั่วไป เช่น ปวดบริเวณที่ฉีด มีไข้ ซึ่งเป็นอาการชั่วคราวที่จะหายไปเอง …อาการผลข้างเคียงไม่ได้จะเกิดทุกคน คนส่วนใหญ่ที่ฉีดแล้วไม่พบอาการผิดปกติ
Q: ฉีดแล้วเสี่ยงผลข้างเคียง หรือไม่ฉีดแล้วเสี่ยงติดโควิด? ควรจะเลือกอันไหน?A: แนะนำให้ “ฉีดวัคซีน” เพราะประโยชน์มีมากว่า หากไม่ฉีดวัคซีนแต่เผลอติดโควิดจะมีโอกาสเป็นลิ่มเลือดสูงและเสี่ยงเสียชีวิต มากกว่าการที่กลัวภาวะลิ่มเลือดอุดตันจากวัคซีน
Q: รอคนอื่นฉีดวัคซีน เราจะได้ไม่ต้องฉีดวัคซีน?A: ทุกวันนี้เชื้อโควิดกลายพันธุ์ อาจผลรุนแรงมาก เราจึงควรฉีดวัคซีนเพื่อสร้างภูมิคุ้มกันแก่ตนเองและลดความเสี่ยงการแพร่เชื้อในครอบครัว
Q: เราควรฉีดวัคซีนหรือไม่?A: ฟันธงว่า ทุกคนควรฉีดวัคซีน เพราะป้องกันการติดเชื้อรุนแรง ลดอัตราการตาย และได้ผลพลอยได้ในการเกิดภูมิคุ้มกันหมู่ในสังคม ทำให้เปิดประเทศและเศรษฐกิจเดินหน้าได้
ชมคลิปเต็มได้ที่ https://youtu.be/AS_UJfVdY7M
นิสิตเภสัชศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ จุฬาฯ จัด “ค่าย 3 สัญจร สอนสัมพันธ์”ส่งเสริมการเรียนรู้สร้างแรงบันดาลใจให้นักเรียนจังหวัดอ่างทอง
นิสิตเภสัชศาสตร์ จุฬาฯ คว้ารางวัลชนะเลิศและรองชนะเลิศ “INNOVATORS IMPACT CHALLENGE 2025” สร้างสรรค์นวัตกรรมโปรตีนจากรังไหม
เชิญเข้าร่วมอบรมหัวข้อ “AI กับความเป็นส่วนตัว: เราควบคุมหรือถูกควบคุม?”
9 พฤษภาคม 2568 เวลา 13.00 - 16.00 น. ห้องอำไพ สุจริตกุล คณะครุศาสตร์
การสร้าง Course Syllabus และการประเมินการเรียนการสอนผ่านระบบ myCourseVille ในระบบทวิภาค และระบบทวิภาค-นานาชาติ ภาคฤดูร้อน ปีการศึกษา 2567
ศูนย์นวัตกรรมการเรียนรู้ จุฬาฯ เชิญฟังการบรรยายพิเศษ “PDPA OK Aha! เข้าใจความท้าทายจนนำไปปฏิบัติได้”
24 เมษายน 2568 เวลา 09.00 - 12.00 น. หอประชุมคณะวิศวกรรมศาสตร์ อาคาร 3
สถาบันภาษา จุฬาฯ จัดการประชุมทางวิชาการระดับนานาชาติ ประจําปี 2568 (46th Language Testing Research Colloquium: LTRC 2025)
จุฬาฯ สนับสนุนให้อาจารย์ทำงานวิจัย นับว่าเป็นสิ่งที่ดีมากต่อทั้งอาจารย์ นิสิต รวมถึงภาคประชาสังคม รองศาสตราจารย์ ดร.สุชนา ชวนิชย์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จุฬาฯ สนับสนุนให้อาจารย์ทำงานวิจัย นับว่าเป็นสิ่งที่ดีมากต่อทั้งอาจารย์ นิสิต รวมถึงภาคประชาสังคม
รองศาสตราจารย์ ดร.สุชนา ชวนิชย์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้ เพื่อมอบประสบการณ์การใช้งานที่ดีให้กับท่าน และเพื่อพัฒนาคุณภาพการให้บริการเว็บไซต์ที่ตรงต่อความต้องการของท่านมากยิ่งขึ้น ท่านสามารถทราบรายละเอียดเกี่ยวกับคุกกี้ได้ที่ นโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล และท่านสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า
ท่านสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น
ประเภทของคุกกี้ที่มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้ท่านสามารถใช้เว็บไซต์ได้อย่างเป็นปกติ ท่านไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้
คุกกี้ประเภทนี้จะทำการเก็บข้อมูลพฤติกรรมการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน โดยมีจุดประสงค์คือนำข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้มีคุณภาพ และสร้างประสบการณ์ที่ดีกับผู้ใช้งาน เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด หากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้นี้ เราอาจไม่สามารถวัดผลเพื่อการปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้ดีขึ้นได้ รายละเอียดคุกกี้