รู้จักจุฬาฯ
การบริหาร
อัตลักษณ์มหาวิทยาลัย
Green University
Sustainability
ติดต่อจุฬาฯ
บริจาคให้จุฬาฯ
หลักสูตร
การสมัครเข้าศึกษา
หน่วยงานการศึกษา
บริการนิสิต
บริการวิชาการ
บริการทางการแพทย์
บริการตรวจวิเคราะห์คุณภาพ
สารสนเทศและการสื่อสาร
พื้นที่สร้างสรรค์
ข่าวสารและความเคลื่อนไหว
วารสารจุฬาฯ
สาระความรู้
ข่าวสารจุฬาฯ
10 มิถุนายน 2564
ข่าวเด่น
รศ.ดร.วินัย ดะห์ลัน ผู้อำนวยการศูนย์วิทยาศาสตร์ฮาลาล จุฬาฯ ได้ให้ความรู้เกี่ยวกับวัคซีน COVID-19 ผ่านคลิปประชาสัมพันธ์เรื่อง “วัคซีน ไม่รู้ไม่ได้แล้ว”
สรุปได้ว่า วัคซีนไม่ใช่ยา แต่วัคซีนจะเข้าไปกระตุ้นกลไกในร่างกายให้เตรียมความพร้อมต่อต้านเชื้อโรคที่รุกรานเข้ามา ซึ่งเป็นเหตุผลที่เราต้องฉีดวัคซีน ผู้นับถือศาสนาอิสลาม (มุสลิม) สามารถฉีดวัคซีนได้ กระบวนการผลิตวัคซีนไม่ต่างจากการปลูกผัก ที่ตอนปลูกอาจจะใช้ปุ๋ยมูลวัว มูลแกะ แต่เมื่อผักเจริญเติบโตเราก็สามารถรับประทานผักได้ วัคซีนก็เช่นเดียวกัน เอนไซม์ที่ใช้ในการผลิตวัคซีนจะไม่ทำให้มีปัญหาเรื่องฮาลาล
อีกทั้งยังคลายความกังวลเรื่องโอกาสเสี่ยงในการเสียชีวิตจากวัคซีนว่า มีโอกาสน้อยมาก โอกาสเสี่ยงในการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุบนท้องถนนในชีวิตประจำวันยังมีมากกว่า
รศ.ดร.วินัย ได้อธิบายถึงข้อแตกต่างของวัคซีน Sinovac และ AstarZeneca ว่าผลิตจากเทคโนโลยีที่แตกต่างกัน โดย Sinovac ถูกผลิตจากเชื้อตาย ส่วน AsterZeneca ถูกผลิตด้วยเทคโนโลยีที่เรียกว่า “Vector” เช่นเดียวกับวัคซีน Sputnik V ของรัสเซีย ซึ่งเป็นการเลี้ยงเชื้อในไวรัสที่ไม่ก่ออันตราย เทคโนโลยีนี้เป็นที่ยอมรับสูง เนื่องจากอัตราเสี่ยงและอันตรายมีน้อย ที่ผ่านมายังไม่มีข้อมูลมากพอสำหรับประสิทธิภาพการป้องกันการแพร่เชื้อหลังฉีดวัคซีน แต่จากสถิติที่ผ่านมา มั่นใจได้ว่าผู้ที่ฉีดวัคซีนแล้วหากติดเชื้อจะไม่เป็นอันตรายถึงขั้นเสียชีวิต
รับชมคลิปการให้ความรู้เรื่องวัคซีนได้ที่ https://www.youtube.com/watch?v=84EGESMDu2s
เทศกาลความสนุกส่งท้ายปี “Siam Street BIG RETURN 2024” 20-22 ธันวาคมนี้ที่สยามสแควร์ ชมฟรีตลอดงาน
คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาฯ จัดงานประกาศผลมูลค่าแบรนด์องค์กร ASEAN and Thailand’s Top Corporate Brands 2024 มอบรางวัลสุดยอดแบรนด์องค์กรและรางวัลหอเกียรติยศ
ผศ.ทพ.ดร.ศุภชัย ชื่นจิตรวงษา ผู้ช่วยอธิการบดี จุฬาฯ ได้รับยกย่องเป็นทันตแพทย์ดีเด่น ด้านพัฒนาวิชาชีพ
จุฬาฯ จัดงาน “Chula Townhall” เปิดวิสัยทัศน์พัฒนามหาวิทยาลัยรอบทิศโดยมีนิสิตเป็นศูนย์กลาง พร้อมส่งความสุขปีใหม่ให้ชาวจุฬาฯ
จุฬาฯ เสริมสร้างศักยภาพด้านการบริหารจัดการแก่ผู้บริหาร หลักสูตร The Leader Prospects รุ่นที่ 14
เชิญชวนชาวจุฬาฯ เข้าร่วมการแข่งขันกีฬาภายในของบุคลากรจุฬาฯ ครั้งที่ 45 ประจำปี 2568
27 มกราคม – 7 มีนาคม 2568
จุฬาฯ มีลักษณะของความเป็นพี่น้อง ความอบอุ่น เป็นสังคมที่อยากอนุรักษ์ไว้ ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จุฬาฯ มีลักษณะของความเป็นพี่น้อง ความอบอุ่น เป็นสังคมที่อยากอนุรักษ์ไว้
ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้ เพื่อมอบประสบการณ์การใช้งานที่ดีให้กับท่าน และเพื่อพัฒนาคุณภาพการให้บริการเว็บไซต์ที่ตรงต่อความต้องการของท่านมากยิ่งขึ้น ท่านสามารถทราบรายละเอียดเกี่ยวกับคุกกี้ได้ที่ นโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล และท่านสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า
ท่านสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น
ประเภทของคุกกี้ที่มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้ท่านสามารถใช้เว็บไซต์ได้อย่างเป็นปกติ ท่านไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้
คุกกี้ประเภทนี้จะทำการเก็บข้อมูลพฤติกรรมการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน โดยมีจุดประสงค์คือนำข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้มีคุณภาพ และสร้างประสบการณ์ที่ดีกับผู้ใช้งาน เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด หากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้นี้ เราอาจไม่สามารถวัดผลเพื่อการปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้ดีขึ้นได้ รายละเอียดคุกกี้