ข่าวสารจุฬาฯ

เชิญร่วมบริจาคเงินในโครงการ “สร้างกุศลกับภาพสวย” สนับสนุนบุคลากรทางการแพทย์และชุมชนที่เดือดร้อนจากโควิด-19

สำนักบริหารศิลปวัฒนธรรม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับสมาคมนิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (สนจ.) ขอเชิญผู้สนใจร่วมบริจาคเงินในโครงการ “สร้างกุศลกับภาพสวย” 

โดยบริจาคเงินขั้นต่ำภาพละ 50,000 บาท รายได้จากการบริจาคครั้งนี้เพื่อสนับสนุนบุคลากรทางการแพทย์และชุมชนที่เดือดร้อนจากโควิด-19 โดยได้รับการสนับสนุนภาพงานศิลปะจากศิลปิน 10 ท่าน ดังนี้

1. สมวงศ์ ทัพพรัตน์ ผลงานชื่อ “ริมสระ”

ใช้เทคนิคสีน้ำบนกระดาษ ศิลปินรางวัลศิลป พีระศรี ครั้งที่ 8

ผลงานชื่อ “ริมสระ”

2. วัฒนา พูลเจริญ ผลงานชื่อ “สีดา”

ใช้เทคนิคสีอะคริลิคบนผ้าใบ ศิลปินแนวอิมเพรสชั่นนิสต์ที่มีผลงานศิลปะอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ปี 2518 – ปัจจุบัน

ผลงานชื่อ “สีดา”

3. บุญชนะ ไชยจิตต์ ผลงานชื่อ “ยามเย็นที่บ้านปากงู”

ใช้เทคนิคสีน้ำมันบนผ้าใบ ศิลปินเจ้าของผลงาน”ทะเลโอเคนะ” ณ หอศิลป์จามจุรี

ผลงานชื่อ “ยามเย็นที่บ้านปากงู”

4. ดินหิน รักษ์พงศ์อโศก ผลงานชื่อ “พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช” No.4

ใช้เทคนิคชาร์โคลบนกระดาษ ผลงานที่ผ่านมาได้รับรางวัลที่ 1 ประกวดภาพเขียนการ์ตูนในนิตยสารการ์ตูนต่างๆ  รวม 17 ครั้ง

ผลงานชื่อ “พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช” No.4

5. พีระ โภคทวี ผลงานชื่อ “Stay forever

ใช้เทคนิค สีน้ำบนกระดาษ ศิลปินที่มีผลงานนิทรรศการที่จัดแสดงที่ประเทศเกาหลีใต้และเมียนมาร์

ผลงานชื่อ “Stay forever”

6. ศรีศิลป์ เอมเจริญ ผลงานชื่อ “ภาพสวนที่บางแค”

ใช้เทคนิคสีน้ำมันบนผ้าใบ เจ้าของผลงานนิทรรศการ”สีสันสีศิลป์” ณ หอศิลป์จามจุรี

ผลงานชื่อ “ภาพสวนที่บางแค”

7. อิทธิพล พัฒรชนม์ ผลงานชื่อ “บัว”

ใช้เทคนิค สีอะคริลิค ทองคำเปลวบนผ้าใบ เคยได้รับ รางวัลเกียรติยศ ศิลปกรรม ป.ต.ท. ครั้งที่ 11 

ผลงานชื่อ “บัว”

8. ปิ่นนุช ปิ่นจินดา ผลงานชื่อ “32 fish”

ใช้เทคนิค Linocut, Soft Pastel, Acrylic & Sewing on paper เคยได้รับรางวัลยอดเยี่ยมอันดับ 2 การประกวดภาพประกอบหนังสือสำหรับเด็กและเยาวชน

ผลงานชื่อ “32 fish”

9. ศุภวัฒน์ หิรัญธนวิวัฒน์ ผลงานชื่อ “พระเจดีย์ทอง”

ใช้เทคนิคสีน้ำบนกระดาษ
เคยได้รับรางวัลจาก Art Exhibition and Demonstration “1st International Watercolor Society India Biennale 2015″ New Delhi, India

ผลงานชื่อ “พระเจดีย์ทอง”

10. นาวิน ตันธนะเดชา ผลงานชื่อ “2.10.2017”

ใช้เทคนิคสีน้ำบนกระดาษ ศิลปินเจ้าของผลงานนิทรรศการ “Elements of Chance” ณ หอศิลป์จามจุรี

ผลงานชื่อ “2.10.2017”

สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ สมาคมนิสิตเก่าจุฬาฯ โทร. 0-2215-3488
สำนักบริหารศิลปวัฒนธรรม โทร.0-2218-3646 

จุฬาฯ สนับสนุนให้อาจารย์ทำงานวิจัย นับว่าเป็นสิ่งที่ดีมากต่อทั้งอาจารย์ นิสิต รวมถึงภาคประชาสังคม

รองศาสตราจารย์ ดร.สุชนา ชวนิชย์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้ เพื่อมอบประสบการณ์การใช้งานที่ดีให้กับท่าน และเพื่อพัฒนาคุณภาพการให้บริการเว็บไซต์ที่ตรงต่อความต้องการของท่านมากยิ่งขึ้น ท่านสามารถทราบรายละเอียดเกี่ยวกับคุกกี้ได้ที่ นโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล และท่านสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว

ท่านสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

อนุญาตทั้งหมด
จัดการความเป็นส่วนตัว
  • คุกกี้ที่จำเป็น
    เปิดใช้งานตลอด

    ประเภทของคุกกี้ที่มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้ท่านสามารถใช้เว็บไซต์ได้อย่างเป็นปกติ ท่านไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้

  • คุกกี้เพื่อการวิเคราะห์

    คุกกี้ประเภทนี้จะทำการเก็บข้อมูลพฤติกรรมการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน โดยมีจุดประสงค์คือนำข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้มีคุณภาพ และสร้างประสบการณ์ที่ดีกับผู้ใช้งาน เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด หากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้นี้ เราอาจไม่สามารถวัดผลเพื่อการปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้ดีขึ้นได้
    รายละเอียดคุกกี้

บันทึกการตั้งค่า