รู้จักจุฬาฯ
การบริหาร
อัตลักษณ์มหาวิทยาลัย
Green University
Sustainability
ติดต่อจุฬาฯ
บริจาคให้จุฬาฯ
หลักสูตร
การสมัครเข้าศึกษา
หน่วยงานการศึกษา
บริการนิสิต
บริการวิชาการ
บริการทางการแพทย์
บริการตรวจวิเคราะห์คุณภาพ
สารสนเทศและการสื่อสาร
พื้นที่สร้างสรรค์
ข่าวสารและความเคลื่อนไหว
วารสารจุฬาฯ
สาระความรู้
ข่าวสารจุฬาฯ
15 กรกฎาคม 2564
ข่าวเด่น
องค์การบริหารสโมสรนิสิตจุฬาฯ (อบจ.) ร่วมกับคณะใกล้เที่ยงคืน กลุ่มคนทำงานขับเคลื่อนเพื่อสังคมในมิติการพัฒนาเยาวชน ขอเชิญผู้ที่สนใจเข้าร่วมภารกิจ #น้องฉันต้องได้เรียน โครงการส่งต่อสมาร์ตโฟนที่ไม่ใช้แล้วให้กับ 13 โรงเรียนรอบจุฬาฯ ที่ขาดแคลนสมาร์ตโฟนสำหรับเรียนออนไลน์ในช่วงวิกฤต COVID-19 ตั้งแต่บัดนี้ – 30 กรกฎาคม 2564
ระบบปฏิบัติการของสมาร์ตโฟนที่สามารถส่งต่อได้ ต้องเป็นระบบ IOS 12 (iPhone 5S ขึ้นไป) และ ระบบ Android ที่เปิดตัวในระยะเวลา 6 ปีล่าสุด ในกรณีต้องการจะส่งต่อสมาร์ตโฟนในระบบปฏิบัติการอื่นๆ สามารถสอบถามได้ที่ช่องทางสอบถามข้อมูลเกี่ยวกับโครงการ
คุณสมบัติของสมาร์ตโฟนที่สามารถส่งต่อได้ มีดังนี้– หน้าจอระบบสัมผัสสามารถใช้งานได้– แบตเตอร์รี่ยังมีประสิทธิภาพ– กล้องสามารถใช้งานได้– ไมโครโฟนสามารถใช้ได้– สามารถใช้งาน Application LINE, Facebook, Messenger, ZOOM, Kahoot– สามารถปลดล็อคตัวเครื่องได้โดยไม่ติดรหัสผ่านหรือเครือข่ายใดๆ– มีสายชาร์จสำหรับสมาร์ตโฟน– ข้อมูลทั้งหมดในเครื่องต้องถูกลบและรีเซ็ตการตั้งค่าสมาร์ตโฟนให้เป็นแบบตั้งต้น
อ่านรายละเอียดและลงทะเบียนส่งต่อสมาร์ตโฟนได้ที่ https://docs.google.com/forms/d/e/1FAIpQLScNiZnKSiJBN2yFCtbT-G1yCJkc2q5Xahlu4K9tLIFuo3OG2g/viewform?pli=1
สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม Facebook : องค์การบริหารสโมสรนิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (อบจ.) LINE Official Account : @sgcu.chula
นิสิต BBA จุฬาฯ เยี่ยม! ทำคะแนนสอบ TCAS Inter 2024 ได้ที่ 1 ของประเทศ
ศูนย์หนังสือจุฬาฯ เชิญร่วมงานเสวนา “โปรตุเกส…เหตุที่รัก”
นิสิตสาขาวิชาศิลปศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาฯ คว้ารางวัลชนะเลิศการประกวดสีน้ำระดับอุดมศึกษา
คณะทันตแพทย์ จุฬาฯ ชวนช็อป ดีมีคืน กับ Chula Dent ในโครงการ Easy E-Receipt 2.0
ขอเชิญชาวจุฬาฯ ประกวดคลิปวิดีโอสร้างสรรค์ “Chula Ethics: Our Code, Our Way: วิถีเรา ตัวตนเรา”
เชิญชวนชาวจุฬาฯ ประกวดออกแบบมาสคอต “Chula Mascot challenge ตัวแทนแห่งความโปร่งใส: CU Good gift mascot”
จุฬาฯ มีลักษณะของความเป็นพี่น้อง ความอบอุ่น เป็นสังคมที่อยากอนุรักษ์ไว้ ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จุฬาฯ มีลักษณะของความเป็นพี่น้อง ความอบอุ่น เป็นสังคมที่อยากอนุรักษ์ไว้
ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้ เพื่อมอบประสบการณ์การใช้งานที่ดีให้กับท่าน และเพื่อพัฒนาคุณภาพการให้บริการเว็บไซต์ที่ตรงต่อความต้องการของท่านมากยิ่งขึ้น ท่านสามารถทราบรายละเอียดเกี่ยวกับคุกกี้ได้ที่ นโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล และท่านสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า
ท่านสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น
ประเภทของคุกกี้ที่มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้ท่านสามารถใช้เว็บไซต์ได้อย่างเป็นปกติ ท่านไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้
คุกกี้ประเภทนี้จะทำการเก็บข้อมูลพฤติกรรมการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน โดยมีจุดประสงค์คือนำข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้มีคุณภาพ และสร้างประสบการณ์ที่ดีกับผู้ใช้งาน เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด หากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้นี้ เราอาจไม่สามารถวัดผลเพื่อการปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้ดีขึ้นได้ รายละเอียดคุกกี้