รู้จักจุฬาฯ
การบริหาร
อัตลักษณ์มหาวิทยาลัย
Green University
Sustainability
ติดต่อจุฬาฯ
บริจาคให้จุฬาฯ
หลักสูตร
การสมัครเข้าศึกษา
หน่วยงานการศึกษา
บริการนิสิต
บริการวิชาการ
บริการทางการแพทย์
บริการตรวจวิเคราะห์คุณภาพ
สารสนเทศและการสื่อสาร
พื้นที่สร้างสรรค์
ข่าวสารและความเคลื่อนไหว
วารสารจุฬาฯ
สาระความรู้
ข่าวสารจุฬาฯ
4 ธันวาคม 2564
ข่าวเด่น, ความภูมิใจของจุฬาฯ
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยขอแสดงความยินดีกับคณาจารย์จุฬาฯ 4 ท่านที่ได้รับการประกาศเกียรติคุณจากสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ให้ได้รับรางวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ ประจำปี 2565 จากนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติรวมทั้งสิ้น 10 ท่าน ใน 7 สาขาวิชา
คณาจารย์จุฬาฯ ซึ่งได้รับรางวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ ประจำปี 2565 จำนวน 4 ท่าน ได้แก่
นอกจากนี้ คณาจารย์ นักวิจัย และนิสิตจุฬาฯ ยังได้รับรางวัลสภาวิจัยแห่งชาติปีนี้ ทั้งรางวัลผลงานวิจัย วิทยานิพนธ์ และรางวัลผลงานประดิษฐ์คิดค้น ดังนี้
รางวัลผลงานวิจัย
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้รางวัลจำนวน 11 ผลงาน จาก 49 ผลงานใน 11 สาขา ดังนี้
รางวัลระดับดีมาก จำนวน 4 รางวัล ได้แก่
จากคณะสัตวแพทยศาสตร์ผลงานเรื่อง “การบูรณาการองค์ความรู้จากการวิจัยเชื้อฟลาโวแบคทีเรียมคอลัมแนร์ สู่นวัตกรรมนาโนวัคซีนเกาะติดเยื่อเมือกเพื่อป้องกันโรคคอลัมนาริสในปลาน้ำจืดอย่างยั่งยืน” (สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา)
รางวัลระดับดี จำนวน 7 รางวัล ได้แก่
รางวัลวิทยานิพนธ์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้รางวัลจำนวน 10 ผลงาน จากทั้งหมด 43 เรื่อง ใน 12 สาขาวิชา ดังนี้
รางวัลระดับดีเด่น จำนวน 1 รางวัล ได้แก่
รางวัลระดับดีมาก จำนวน 2 รางวัล ได้แก่
รางวัลผลงานประดิษฐ์คิดค้น
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้รางวัลจำนวน 18 ผลงาน จากทั้งหมด 55 ผลงานใน 9 สาขาวิชา ดังนี้
จุฬาฯผลงานเรื่อง “อุปกรณ์ตรวจวัดแลคเตทในเลือดแบบพกพาที่สามารถอ่านผลได้ทันที ณ จุดดูแลผู้ป่วย” (สาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช)
รางวัลระดับดี จำนวน 6 รางวัล ได้แก่
จุฬาฯ ผลงานเรื่อง “ผลิตภัณฑ์ทรายแมวจากมันสําปะหลังไทย” (สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา)
รางวัลประกาศเกียรติคุณ จำนวน 10 รางวัล ได้แก่
ความปกติใหมของการเรียนรู้ภาษาอังกฤษอย่างท้าทายด้วยแชท
บอทเกม” (สาขาการศึกษา)
ครุศาสตร์ จุฬาฯ เชิญร่วมสองกิจกรรมโครงการ “เล่นเพลินสำหรับเด็กปฐมวัย” “นิทานฟังเพลิน” และ “Happy Play Day”
อาจารย์คณะแพทยศาสตร์ จุฬาฯ ได้รับการเชิดชูเกียรติเป็น “อาจารย์ดีเด่นแห่งชาติ ปอมท.” ประจำปี 2567
อธิการบดีจุฬาฯ ได้รับเลือกเป็นประธานสมาคมสถาบันการศึกษาขั้นอุดมแห่งภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (ASAIHL) ปี 2025-2026
นิสิตภาควิชาสถิติ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาฯ คว้ารางวัลชนะเลิศการแข่งขัน CHOICEISYOURS 2024
จุฬาฯ เชิญชวนร่วมงาน “One Stop Open House 2024” โดยกระทรวง อว. ระหว่างวันที่ 27 พ.ย. – 1 ธ.ค. 2567 ณ ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์
เชิญผู้สนใจเข้าร่วมโครงการฝึกอบรมด้านจิตวิทยา “BRIDGING DISCIPLINES: Incorporate Psychology into Your Endeavor”
8 ม.ค. 2568 เวลา 09.00 – 16.00 น.
ชั้น 6 อาคารบรมราชชนนีศรีศตพรรษ คณะจิตวิทยา จุฬาฯ
จุฬาฯ สนับสนุนให้อาจารย์ทำงานวิจัย นับว่าเป็นสิ่งที่ดีมากต่อทั้งอาจารย์ นิสิต รวมถึงภาคประชาสังคม รองศาสตราจารย์ ดร.สุชนา ชวนิชย์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จุฬาฯ สนับสนุนให้อาจารย์ทำงานวิจัย นับว่าเป็นสิ่งที่ดีมากต่อทั้งอาจารย์ นิสิต รวมถึงภาคประชาสังคม
รองศาสตราจารย์ ดร.สุชนา ชวนิชย์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้ เพื่อมอบประสบการณ์การใช้งานที่ดีให้กับท่าน และเพื่อพัฒนาคุณภาพการให้บริการเว็บไซต์ที่ตรงต่อความต้องการของท่านมากยิ่งขึ้น ท่านสามารถทราบรายละเอียดเกี่ยวกับคุกกี้ได้ที่ นโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล และท่านสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า
ท่านสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น
ประเภทของคุกกี้ที่มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้ท่านสามารถใช้เว็บไซต์ได้อย่างเป็นปกติ ท่านไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้
คุกกี้ประเภทนี้จะทำการเก็บข้อมูลพฤติกรรมการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน โดยมีจุดประสงค์คือนำข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้มีคุณภาพ และสร้างประสบการณ์ที่ดีกับผู้ใช้งาน เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด หากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้นี้ เราอาจไม่สามารถวัดผลเพื่อการปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้ดีขึ้นได้ รายละเอียดคุกกี้