รู้จักจุฬาฯ
การบริหาร
อัตลักษณ์มหาวิทยาลัย
Green University
Sustainability
ติดต่อจุฬาฯ
บริจาคให้จุฬาฯ
หลักสูตร
การสมัครเข้าศึกษา
หน่วยงานการศึกษา
บริการนิสิต
บริการวิชาการ
บริการทางการแพทย์
บริการตรวจวิเคราะห์คุณภาพ
สารสนเทศและการสื่อสาร
พื้นที่สร้างสรรค์
ข่าวสารและความเคลื่อนไหว
วารสารจุฬาฯ
สาระความรู้
ข่าวสารจุฬาฯ
26 มกราคม 2565
ข่าวเด่น, ปฏิทินกิจกรรม
กลุ่มภารกิจงานวิจัยและพัฒนาวิชาการ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาฯ ขอเชิญผู้สนใจฟังการบรรยายพิเศษ “อักษรศาสตร์สู่สังคม” เรื่อง “มุสลิมในสามจังหวัดชายแดนใต้ในสื่อสะท้อนสังคมกับการต่อรองของชนชั้นกลางไทยผ่านวัฒนธรรมทัศนา (Visual Culture)” โดย อ.ดร.ตรีพล เกิดนาค คณะอักษรศาสตร์ จุฬาฯ ในวันศุกร์ที่ 28 มกราคม 2565 เวลา 14.00 – 15.30 น. บรรยายออนไลน์ผ่าน Zoom
การพัฒนาอุตสาหกรรมอย่างเข้มข้นในช่วงทศวรรษที่ 80 ส่งผลให้เศรษฐกิจไทยเติบโตอย่างรวดเร็ว นำไปสู่การขยายตัวของคนชั้นกลาง การพัฒนาที่มุ่งเน้นแต่มิติทางเศรษฐกิจได้ตอกย้ำความเหลื่อมล้ำระหว่างเมืองกับชนบท ศิลปินรุ่นใหม่บางกลุ่มเริ่มตระหนักถึงการใช้สื่อเพื่อสะท้อนปัญหาของการพัฒนา โดยมีกลุ่มคนชั้นกลางเป็นกลุ่มเป้าหมายหลัก ภายใต้บริบทดังกล่าว ประเด็นปัญหาของชาวไทยมุสลิมในสามจังหวัดชายแดนใต้มักถูกหยิบยกมาเป็นเนื้อหาของภาพยนตร์สะท้อนสังคมและเพลงเพื่อชีวิต
การบรรยายในครั้งนี้มุ่งทำความเข้าใจปรากฏการณ์ดังกล่าวโดยผ่านทฤษฎีวัฒนธรรมทัศนา โดยมุ่งเน้นไปที่การเมืองของการ “มอง” ประเด็นปัญหาของมุสลิมในชนบทผ่านคนชั้นกลางในเมืองเพื่อต่อรองกับความหมายของ “การพัฒนา” ซึ่งในช่วงทศวรรษก่อนหน้าได้ถูกผูกขาดอยู่ในกลุ่มคนชั้นนำ
ผู้สนใจเข้าร่วมฟังบรรยายสามารถลงทะเบียนได้ที่ https://docs.google.com/forms/d/e/1FAIpQLScPWfFp_61Tbij7IjySyZuEhsfHP7u9pt0QSHjs2N8c8UI6gw/viewform
นิสิตคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาฯ และคณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาฯ คว้ารางวัลชนะเลิศจากการแข่งขัน Spark the Local 2024 by PTT
บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาฯ เปิดอบรมหลักสูตร “เครื่องมือการจัดการสิ่งแวดล้อม”
คณะสถาปัตย์ จุฬาฯ ต้อนรับผู้แทนจาก Indiana University สหรัฐอเมริกา เจรจาแนวทางความร่วมมือทางวิชาการ
ศศินทร์จัด Open House แนะนำหลักสูตรต่างๆ วันเสาร์ที่ 30 พฤศจิกายน 2567
30 พ.ย. 67 เวลา 10.00 น.
ศศินทร์ จุฬาฯ
เชิญฟังการบรรยาย Chula Lunch Talk หัวข้อ “Smart VET-Learning: นวัตกรรม AR สู่การศึกษาสัตวแพทย์ยุคดิจิทัล”
ครุศาสตร์ จุฬาฯ เชิญร่วมสองกิจกรรมโครงการ “เล่นเพลินสำหรับเด็กปฐมวัย” “นิทานฟังเพลิน” และ “Happy Play Day”
จุฬาฯ มีลักษณะของความเป็นพี่น้อง ความอบอุ่น เป็นสังคมที่อยากอนุรักษ์ไว้ ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จุฬาฯ มีลักษณะของความเป็นพี่น้อง ความอบอุ่น เป็นสังคมที่อยากอนุรักษ์ไว้
ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้ เพื่อมอบประสบการณ์การใช้งานที่ดีให้กับท่าน และเพื่อพัฒนาคุณภาพการให้บริการเว็บไซต์ที่ตรงต่อความต้องการของท่านมากยิ่งขึ้น ท่านสามารถทราบรายละเอียดเกี่ยวกับคุกกี้ได้ที่ นโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล และท่านสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า
ท่านสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น
ประเภทของคุกกี้ที่มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้ท่านสามารถใช้เว็บไซต์ได้อย่างเป็นปกติ ท่านไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้
คุกกี้ประเภทนี้จะทำการเก็บข้อมูลพฤติกรรมการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน โดยมีจุดประสงค์คือนำข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้มีคุณภาพ และสร้างประสบการณ์ที่ดีกับผู้ใช้งาน เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด หากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้นี้ เราอาจไม่สามารถวัดผลเพื่อการปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้ดีขึ้นได้ รายละเอียดคุกกี้