รู้จักจุฬาฯ
การบริหาร
อัตลักษณ์มหาวิทยาลัย
Green University
Sustainability
ติดต่อจุฬาฯ
บริจาคให้จุฬาฯ
หลักสูตร
การสมัครเข้าศึกษา
หน่วยงานการศึกษา
บริการนิสิต
บริการวิชาการ
บริการทางการแพทย์
บริการตรวจวิเคราะห์คุณภาพ
สารสนเทศและการสื่อสาร
พื้นที่สร้างสรรค์
ข่าวสารและความเคลื่อนไหว
วารสารจุฬาฯ
สาระความรู้
ข่าวสารจุฬาฯ
8 กุมภาพันธ์ 2565
ข่าวเด่น
23 ก.พ. 65 เวลา 14.00 น.
Zoom
กลุ่มภารกิจงานวิจัยและพัฒนางานวิชาการ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาฯ ขอเชิญฟังการบรรยายในโครงการอักษรศาสตร์สู่สังคม เรื่อง “การใช้ข้อมูลจากสื่อสังคมออนไลน์เพื่อการวิจัยเชิงพื้นที่” โดย อ.ดร.อารีรัตน์ แพทย์นุเคราะห์ ภาควิชาภูมิศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาฯ ในวันพุธที่ 23 กุมภาพันธ์ 2565 เวลา 14.00 – 15.30 น. ผ่านทาง Zoom
การบรรยายครั้งนี้นำเสนอความรู้เกี่ยวกับสื่อสังคมออนไลน์ประเภทต่าง ๆ ซึ่งล้วนเป็นเวทีและพื้นที่แห่งการแสดงของตัวตนและอารมณ์ของผู้คน รวมถึงใช้เชื่อมโยงระหว่างคนและสังคม ข้อมูลจำนวนมากมายมหาศาลเหล่านี้ไม่เพียงแต่ให้ข้อมูลเชิงประชากรในมิติต่าง ๆ แต่ยังแฝงไว้ด้วยการระบุพิกัดตำแหน่งติดตามตัวทางพื้นที่ (Geotagging) ซึ่งสามารถนำมาใช้วิเคราะห์ในงานด้านภูมิศาสตร์ เพื่อเข้าใจพลวัตประชากรเชิงพื้นที่ได้ อีกทั้งมีประโยชน์อย่างมากในการใช้ทดแทนการเก็บข้อมูลแบบดั้งเดิม โดยเฉพาะในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19 เช่นนี้ ทำให้สามารถเก็บข้อมูลได้โดยไม่ต้องมีการสัมผัสระหว่างผู้วิจัยและกลุ่มตัวอย่าง ซึ่งสอดคล้องกับนโยบายเว้นระยะห่างทางสังคม
ผู้สนใจลงทะเบียนเข้าร่วมฟังและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นได้ที่ https://docs.google.com/forms/d/e/1FAIpQLSeaGw5vaFp6P7Zh5YFVFkbCTmkkUl_hHjE08BVeOY9gFWnPoQ/viewform หรือสแกน QR code ในโปสเตอร์ประชาสัมพันธ์
นิสิตคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาฯ และคณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาฯ คว้ารางวัลชนะเลิศจากการแข่งขัน Spark the Local 2024 by PTT
บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาฯ เปิดอบรมหลักสูตร “เครื่องมือการจัดการสิ่งแวดล้อม”
คณะสถาปัตย์ จุฬาฯ ต้อนรับผู้แทนจาก Indiana University สหรัฐอเมริกา เจรจาแนวทางความร่วมมือทางวิชาการ
ศศินทร์จัด Open House แนะนำหลักสูตรต่างๆ วันเสาร์ที่ 30 พฤศจิกายน 2567
30 พ.ย. 67 เวลา 10.00 น.
ศศินทร์ จุฬาฯ
เชิญฟังการบรรยาย Chula Lunch Talk หัวข้อ “Smart VET-Learning: นวัตกรรม AR สู่การศึกษาสัตวแพทย์ยุคดิจิทัล”
ครุศาสตร์ จุฬาฯ เชิญร่วมสองกิจกรรมโครงการ “เล่นเพลินสำหรับเด็กปฐมวัย” “นิทานฟังเพลิน” และ “Happy Play Day”
จุฬาฯ มีลักษณะของความเป็นพี่น้อง ความอบอุ่น เป็นสังคมที่อยากอนุรักษ์ไว้ ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จุฬาฯ มีลักษณะของความเป็นพี่น้อง ความอบอุ่น เป็นสังคมที่อยากอนุรักษ์ไว้
ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้ เพื่อมอบประสบการณ์การใช้งานที่ดีให้กับท่าน และเพื่อพัฒนาคุณภาพการให้บริการเว็บไซต์ที่ตรงต่อความต้องการของท่านมากยิ่งขึ้น ท่านสามารถทราบรายละเอียดเกี่ยวกับคุกกี้ได้ที่ นโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล และท่านสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า
ท่านสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น
ประเภทของคุกกี้ที่มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้ท่านสามารถใช้เว็บไซต์ได้อย่างเป็นปกติ ท่านไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้
คุกกี้ประเภทนี้จะทำการเก็บข้อมูลพฤติกรรมการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน โดยมีจุดประสงค์คือนำข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้มีคุณภาพ และสร้างประสบการณ์ที่ดีกับผู้ใช้งาน เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด หากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้นี้ เราอาจไม่สามารถวัดผลเพื่อการปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้ดีขึ้นได้ รายละเอียดคุกกี้