รู้จักจุฬาฯ
การบริหาร
อัตลักษณ์มหาวิทยาลัย
Green University
Sustainability
ติดต่อจุฬาฯ
บริจาคให้จุฬาฯ
หลักสูตร
การสมัครเข้าศึกษา
หน่วยงานการศึกษา
บริการนิสิต
บริการวิชาการ
บริการทางการแพทย์
บริการตรวจวิเคราะห์คุณภาพ
สารสนเทศและการสื่อสาร
พื้นที่สร้างสรรค์
ข่าวสารและความเคลื่อนไหว
วารสารจุฬาฯ
สาระความรู้
ข่าวสารจุฬาฯ
23 กุมภาพันธ์ 2565
ข่าวเด่น, ปฏิทินกิจกรรม
28 ก.พ. – 4 มี.ค. 2565
online
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับองค์การศึกษา วิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (UNESCO) และคณะกรรมการแห่งชาติว่าด้วยการศึกษา วิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (The Thai National Commission for UNESCO) จัดงาน “สัปดาห์จุฬาฯ เพื่อความรอบรู้ในจินตนาการถึงอนาคต” (Chula Futures Literacy Week) ระหว่างวันที่ 28 กุมภาพันธ์ – 4 มีนาคม 2565 และการสัมมนานานาชาติ “ความรอบรู้ในจินตนาการถึงอนาคต หลังวิกฤต Covid–19 ในเอเชีย: ภราดรภาพ และการประยุกต์ใช้แนวคิดการเรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง” (International Conference Project “Futures Literacy in a Post-Covid-‘l9 Asia: Solidarity and Transformative Learning”) ระหว่างวันที่ 3 – 4 มีนาคม 2565 เพื่อส่งเสริมและเผยแพร่ความรู้เรื่องจินตนาการถึงอนาคต (Futures Literacy) และการประยุกต์ใช้แนวคิดการเรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง (transformative learning)
กิจกรรมต่างๆ ที่จัดขึ้นประกอบด้วย การบรรยาย การประชุมเชิงปฏิบัติการ (Workshops) และการประชุมนานาชาติโดยนักวิชาการผู้ทรงคุณวุฒิแสดงปาฐกถาพิเศษและบรรยาย อาทิ
– ศ.กิตติคุณวิทิต มันตาภรณ์ คณะนิติศาสตร์ จุฬาฯ ผู้เชี่ยวชาญกฎหมายระหว่างประเทศโดยเฉพาะเรื่องสิทธิมนุษยชน ผู้รายงานพิเศษแห่งองค์การสหประชาชาติ ผู้เชี่ยวชาญอิสระ คณะกรรมการด้านสิทธิมนุษยชนและความเท่าเทียมแห่งสหประชาชาติ
– Dr. Riel Miller, Head of Futures Literacy, UNESCO
– Asst. Prof. Dr. Carl Middleton ผู้อำนวยการศูนย์ศึกษาการพัฒนาสังคม คณะรัฐศาสตร์ จุฬาฯ
– รศ.ดร.อภิวัฒน์ รัตนวราหะ ภาควิชาการวางแผนภาคและเมือง คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาฯ.
– Ms.Tanja Hichert, Centre for Sustainability Transitions, Stellenbosch University, South Africa
กิจกรรมครั้งนี้จัดทางออนไลน์ ผู้สนใจลงทะเบียนเข้าร่วมงานได้ทาง QR Code ในโปสเตอร์ประชาสัมพันธ์ หรือติดตามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ https://www.inter.chula.ac.th/futuresliteracy/
จุฬาฯ ย้อมสยามเป็นสีชมพู ใน “CHULA BAKA BEGINS” พร้อมลั่นกลองศึกบอลประเพณีฯ ครั้งที่ 75 สุดยิ่งใหญ่
เชิญผู้สนใจเข้าร่วมโครงการอบรมความรู้ทางจิตวิทยา หัวข้อ “เทคนิคพื้นฐานสำหรับการเจรจาต่อรอง รุ่นที่ 4″
22 มี.ค. 2568 เวลา 09.00 – 16.00 น.
ห้อง 614 ชั้น 6 อาคารบรมราชชนนีศรีศตพรรษ คณะจิตวิทยา จุฬาฯ
จุฬาฯ เปิดรับสมัครนิสิตปริญญาโทครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชานิเทศการศึกษาและพัฒนาหลักสูตร ประจำปี 2568
คอร์สเรียน CUVIP เดือนกุมภาพันธ์ “Lesson of Love บทเรียนรัก พิทักษ์ความสัมพันธ์”
4-18 ก.พ. 68
ศศินทร์จัด Open House วันเสาร์ที่ 15 กุมภาพันธ์ 2568
15 ก.พ. 68 เวลา 10.00 น.
ศศินทร์ จุฬาฯ
เชิญชวนนิสิตจุฬาฯ ร่วมประเมินการเรียนการสอนออนไลน์ผ่านระบบ myCourseVille ระบบตรีภาค
จุฬาฯ มีลักษณะของความเป็นพี่น้อง ความอบอุ่น เป็นสังคมที่อยากอนุรักษ์ไว้ ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จุฬาฯ มีลักษณะของความเป็นพี่น้อง ความอบอุ่น เป็นสังคมที่อยากอนุรักษ์ไว้
ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้ เพื่อมอบประสบการณ์การใช้งานที่ดีให้กับท่าน และเพื่อพัฒนาคุณภาพการให้บริการเว็บไซต์ที่ตรงต่อความต้องการของท่านมากยิ่งขึ้น ท่านสามารถทราบรายละเอียดเกี่ยวกับคุกกี้ได้ที่ นโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล และท่านสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า
ท่านสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น
ประเภทของคุกกี้ที่มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้ท่านสามารถใช้เว็บไซต์ได้อย่างเป็นปกติ ท่านไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้
คุกกี้ประเภทนี้จะทำการเก็บข้อมูลพฤติกรรมการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน โดยมีจุดประสงค์คือนำข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้มีคุณภาพ และสร้างประสบการณ์ที่ดีกับผู้ใช้งาน เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด หากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้นี้ เราอาจไม่สามารถวัดผลเพื่อการปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้ดีขึ้นได้ รายละเอียดคุกกี้