รู้จักจุฬาฯ
การบริหาร
อัตลักษณ์มหาวิทยาลัย
Green University
Sustainability
ติดต่อจุฬาฯ
บริจาคให้จุฬาฯ
หลักสูตร
การสมัครเข้าศึกษา
หน่วยงานการศึกษา
บริการนิสิต
บริการวิชาการ
บริการทางการแพทย์
บริการตรวจวิเคราะห์คุณภาพ
สารสนเทศและการสื่อสาร
พื้นที่สร้างสรรค์
ข่าวสารและความเคลื่อนไหว
วารสารจุฬาฯ
สาระความรู้
ข่าวสารจุฬาฯ
17 มีนาคม 2565
ข่าวเด่น, ปฏิทินกิจกรรม
ผู้เขียน ชาติสยาม หม่อมแก้ว
ในภาวการณ์การระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19 ข่าวปลอมที่ให้ข้อมูลบิดเบือนเกี่ยวกับโรคโควิด-19 ถูกส่งต่อผ่านสื่อสมัยใหม่ต่างๆ อย่างแพร่หลายและรวดเร็ว ข่าวปลอมเหล่านี้มีเนื้อหาและวัตถุประสงค์ที่หลากหลาย ทั้งการอธิบายถึงต้นกำเนิดของเชื้อไวรัสการเตือนภัยเกี่ยวกับผลข้างเคียงของวัคซีนและการใส่หน้ากากอนามัย การรายงานถึงคลัสเตอร์ผู้ติดเชื้อใหม่ในบริบทและสถานที่ต่างๆ รวมไปถึงพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ของผู้ติดเชื้อ หากพิจารณาข่าวปลอมเหล่านี้ในฐานะเรื่องเล่าก็จะพบองค์ประกอบและอนุภาคที่ปรากฏซ้ำๆ ในข่าวลือเกี่ยวกับโรคระบาดที่เคยเกิดขึ้นแล้วในอดีต องค์ประกอบและอนุภาคที่เป็นสากลเหล่านี้แสดงให้เห็นว่าทัศนคติและปฏิกิริยาตอบสนองต่อโรคระบาดของคนในยุคสมัยและบริบทที่แตกต่างกันนั้นกลับเหมือนกันจนน่าประหลาดใจ
กลุ่มภารกิจงานวิจัยและพัฒนาวิชาการ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาฯ ขอเชิญผู้สนใจร่วมฟังการบรรยายพิเศษ “อักษรศาสตร์สู่สังคม” เรื่อง “ระบาดวิทยาของข่าวปลอม: อ่านข่าวปลอมในช่วงโควิดระบาดจากมุมมองของนักคติชน” โดย ผศ.ดร.กัญญา วัฒนกุล ศูนย์ไทยศึกษา คณะอักษรศาสตร์ จุฬาฯ ในวันพฤหัสบดีที่ 31 มีนาคม 2565 เวลา 14.00 – 15.30 น. ทางแอปพลิเคชั่น Zoom
ลงทะเบียนเข้าร่วมฟัง และแลกเปลี่ยนความคิดเห็นได้ที่ https://zhort.link/BYlหรือสแกน QR Code จากโปสเตอร์ประชาสัมพันธ์
จุฬาฯ จัดงาน “สยามานุสสติ ผสาน…ปณิธาน” การแสดงทางศิลปวัฒนธรรมโดยนิสิตจุฬาฯ
นิสิตคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาฯ และคณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาฯ คว้ารางวัลชนะเลิศจากการแข่งขัน Spark the Local 2024 by PTT
บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาฯ เปิดอบรมหลักสูตร “เครื่องมือการจัดการสิ่งแวดล้อม”
คณะสถาปัตย์ จุฬาฯ ต้อนรับผู้แทนจาก Indiana University สหรัฐอเมริกา เจรจาแนวทางความร่วมมือทางวิชาการ
ศศินทร์จัด Open House แนะนำหลักสูตรต่างๆ วันเสาร์ที่ 30 พฤศจิกายน 2567
30 พ.ย. 67 เวลา 10.00 น.
ศศินทร์ จุฬาฯ
เชิญฟังการบรรยาย Chula Lunch Talk หัวข้อ “Smart VET-Learning: นวัตกรรม AR สู่การศึกษาสัตวแพทย์ยุคดิจิทัล”
จุฬาฯ มีลักษณะของความเป็นพี่น้อง ความอบอุ่น เป็นสังคมที่อยากอนุรักษ์ไว้ ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จุฬาฯ มีลักษณะของความเป็นพี่น้อง ความอบอุ่น เป็นสังคมที่อยากอนุรักษ์ไว้
ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้ เพื่อมอบประสบการณ์การใช้งานที่ดีให้กับท่าน และเพื่อพัฒนาคุณภาพการให้บริการเว็บไซต์ที่ตรงต่อความต้องการของท่านมากยิ่งขึ้น ท่านสามารถทราบรายละเอียดเกี่ยวกับคุกกี้ได้ที่ นโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล และท่านสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า
ท่านสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น
ประเภทของคุกกี้ที่มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้ท่านสามารถใช้เว็บไซต์ได้อย่างเป็นปกติ ท่านไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้
คุกกี้ประเภทนี้จะทำการเก็บข้อมูลพฤติกรรมการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน โดยมีจุดประสงค์คือนำข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้มีคุณภาพ และสร้างประสบการณ์ที่ดีกับผู้ใช้งาน เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด หากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้นี้ เราอาจไม่สามารถวัดผลเพื่อการปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้ดีขึ้นได้ รายละเอียดคุกกี้