รู้จักจุฬาฯ
การบริหาร
อัตลักษณ์มหาวิทยาลัย
Green University
Sustainability
ติดต่อจุฬาฯ
บริจาคให้จุฬาฯ
หลักสูตร
การสมัครเข้าศึกษา
หน่วยงานการศึกษา
บริการนิสิต
บริการวิชาการ
บริการทางการแพทย์
บริการตรวจวิเคราะห์คุณภาพ
สารสนเทศและการสื่อสาร
พื้นที่สร้างสรรค์
ข่าวสารและความเคลื่อนไหว
วารสารจุฬาฯ
สาระความรู้
ข่าวสารจุฬาฯ
24 เมษายน 2565
ภาพข่าว
ศูนย์ปฏิบัติการศิลปกรรมดิจิทัล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (FAAMAI) คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับ Bangkok Projection Mapping Competition จัดกิจกรรมรอบชิงชนะเลิศ และประกาศผลโครงการประกวด FAAMAI Youth Projection Mapping Competition 2022 ในหัวข้อ “LIFE WITH COVID-19 ซึ่งนับเป็นครั้งแรกในประเทศไทย ที่เปิดโอกาสให้นักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น และตอนปลาย ได้แสดงความคิดสร้างสรรค์ผ่าน projection mapping อย่างไร้ขีดจำกัด เมื่อวันเสาร์ที่ 23 เมษายน 2565 ณ ชั้น 9 อาคารสยามสเคป สยามสแควร์
ทีมที่ได้รับรางวัลชนะเลิศในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ได้แก่ “ทีม DNJPB.001” จากโรงเรียนคลองใหญ่วิทยาคม จังหวัดตราด กับผลงาน Covid-19 will be with us และผู้ชนะเลิศในระดับมัธยมศึกษาตอนปลายได้แก่ “ทีม MASKISM” ซึ่งเป็นการรวมตัวของสมาชิกในทีมจากโรงเรียนสตรีวิทยา 2 โรงเรียนสาธิตนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล โรงเรียนเซนต์โยเซฟคอนแวนต์ และโรงเรียนอุดรพิทยานุกูล จากผลงาน “Education devolution” ซึ่งมีความโดดเด่นในเรื่องของความคิดสร้างสรรค์ในการเล่าเรื่องราวและสื่อความหมายถึงหัวข้อการประกวดได้เป็นอย่างดี
สำหรับทีมที่ได้รับรางวัลอื่น ๆ ในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น มีดังนี้ รางวัลชนะเลิศอันดับ 2 ได้แก่ “ทีม PRINLIS” โรงเรียนเพลินพัฒนา และ โรงเรียนนานาชาติโชรส์เบอรี กรุงเทพฯ จากผลงาน “2019: A COVID ODYSSEY By PRINLIS” รางวัลชนะเลิศอันดับ 3 ได้แก่ “ทีม POLARIS” โรงเรียนเขมะสิริอนุสสรณ์ จากผลงาน “A little bottle” ส่วนรางวัลชมเชยอันดับ 1 ได้แก่ “ทีม MK12” โรงเรียนเมืองคง จากผลงาน “รู้จักป้องกันต้าน covid-19” และรางวัลชมเชยรางวัลที่ 2 “ทีม BLUE PERIOD” โรงเรียนวชิราวุธวิทยาลัย จากผลงาน Blue period “Life with COVID-19”
รางวัลในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย รางวัลชนะเลิศอันดับ 2 ได้แก่ “ทีม FLAWLESS” โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยรังสิต จากผลงาน “FLAWLESS Life” รางวัลชนะเลิศอันดับ 3 ได้แก่ “ทีม โปรดตั้งชื่อทีม” โรงเรียนเฉลิมขวัญสตรี จากผลงาน “WITHERED” (การโรยราของกายาที่เหี่ยวเฉา) ส่วนรางวัลชมเชยอันดับ 1 ได้แก่ “ทีม SKOPEO” โรงเรียนพยัคฆภูมิวิทยาคาร จากผลงาน “adapt and learn” และรางวัลชมเชยรางวัลที่ 2 “ทีม CHAEPRICK” โรงเรียนสาธิตจุฬาฯ ฝ่ายมัธยม จากผลงาน Johnny-on-the-spot
จุฬาฯ หัวเว่ย และ BUPT ร่วมพัฒนาบุคลากร ICT ในงาน Asia Pacific Cloud AI Forum & Huawei Developer Competition
อธิการบดีจุฬาฯ 1 เดียวผู้นำด้านการศึกษาจาก 48 ผู้ทรงอิทธิพลไทย
นิสิตคณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาฯ ชนะเลิศการประกวดเดี่ยวเครื่องดนตรีไทยระดับอุดมศึกษาประเภทจะเข้และซอสามสาย
นิสิต BBA จุฬาฯ เยี่ยม! ทำคะแนนสอบ TCAS Inter 2024 ได้ที่ 1 ของประเทศ
ขอเชิญร่วมงาน “Chula Lunch Talk: อยู่ออฟฟิศก็เฟิร์มได้! ท่าออกกำลังง่าย ๆ สู้ Office Syndrome”
24 ม.ค. 68
สำนักงานวิทยทรัพยากร จุฬาฯ
แนวปฏิบัติเพื่อรองรับมาตรการจัดการในสถานการณ์ปริมาณฝุ่น PM2.5
จุฬาฯ มีลักษณะของความเป็นพี่น้อง ความอบอุ่น เป็นสังคมที่อยากอนุรักษ์ไว้ ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จุฬาฯ มีลักษณะของความเป็นพี่น้อง ความอบอุ่น เป็นสังคมที่อยากอนุรักษ์ไว้
ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้ เพื่อมอบประสบการณ์การใช้งานที่ดีให้กับท่าน และเพื่อพัฒนาคุณภาพการให้บริการเว็บไซต์ที่ตรงต่อความต้องการของท่านมากยิ่งขึ้น ท่านสามารถทราบรายละเอียดเกี่ยวกับคุกกี้ได้ที่ นโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล และท่านสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า
ท่านสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น
ประเภทของคุกกี้ที่มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้ท่านสามารถใช้เว็บไซต์ได้อย่างเป็นปกติ ท่านไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้
คุกกี้ประเภทนี้จะทำการเก็บข้อมูลพฤติกรรมการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน โดยมีจุดประสงค์คือนำข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้มีคุณภาพ และสร้างประสบการณ์ที่ดีกับผู้ใช้งาน เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด หากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้นี้ เราอาจไม่สามารถวัดผลเพื่อการปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้ดีขึ้นได้ รายละเอียดคุกกี้