รู้จักจุฬาฯ
การบริหาร
อัตลักษณ์มหาวิทยาลัย
Green University
Sustainability
ติดต่อจุฬาฯ
บริจาคให้จุฬาฯ
หลักสูตร
การสมัครเข้าศึกษา
หน่วยงานการศึกษา
บริการนิสิต
บริการวิชาการ
บริการทางการแพทย์
บริการตรวจวิเคราะห์คุณภาพ
สารสนเทศและการสื่อสาร
พื้นที่สร้างสรรค์
ข่าวสารและความเคลื่อนไหว
วารสารจุฬาฯ
สาระความรู้
ข่าวสารจุฬาฯ
17 มิถุนายน 2565
ข่าวเด่น
ผู้เขียน นิธิกานต์ ปภรภัฒ
โครงการ U2T for BCG เป็นการรวมพลังของมหาวิทยาลัยรัฐและเอกชนกว่า 98 แห่ง สำหรับบัณฑิตจบใหม่และประชาชนในพื้นที่รวม 68,350 คน ครอบคลุม 7,435 ตำบล ใน 77 จังหวัดทั่วประเทศ เพื่อยกระดับเศรษฐกิจฐานรากเป็นรายตำบลทั่วประเทศ ซึ่งเป็นโครงการขับเคลื่อนเศรษฐกิจและสังคมฐานรากหลังโควิดด้วยเศรษฐกิจ Bio-Circular-Green Economy (BCG หรือเศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกิจหมุนเวียน และเศรษฐกิจสีเขียว)
โดยจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย รับผิดชอบ 62 ตำบล ในพื้นที่ 5 จังหวัด ได้แก่ กรุงเทพมหานคร 1 ตำบล น่าน 4 ตำบล ปัตตานี 1 ตำบล ยโสธร 1 ตำบล สระบุรี 55 ตำบล สำหรับผู้สนใจเข้าร่วมโครงการกับจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สามารถกรอกข้อมูลผ่านระบบกลางออนไลน์ของ อว. หลังจากคัดเลือกได้แล้ว จะมีการลงพื้นที่เพื่อทำงานร่วมกับชุมชน ตำบลละ 8-10 คน เพื่อทำหน้าที่สร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสินค้าและบริการของชุมชน เช่น การถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตและบริการ การส่งเสริมการขยายและการตลาด การพัฒนาสินค้าและบริการให้มีมูลค่าสูง การพัฒนาบรรจุภัณฑ์ การยกระดับมาตรฐานสินค้าและบริการ การขนส่งและกระจายสินค้า เป็นต้น
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
รับผิดชอบพื้นที่ดำเนินการ : 62 ตำบล (ตำบลเดิม 9 ตำบล/ ตำบลใหม่ 53 ตำบล)
ระยะเวลาการจ้างงาน : 3 เดือน (กรกฎาคม – กันยายน 2565)
รอบการสมัครและคัดเลือก
เปิดรับสมัครบัณฑิตและประชาชน ผ่านระบบการรับสมัครกลางทางเว็บไซต์ https://u2tbcg.com โดยผู้ประสงค์เข้าร่วมโครงการ สามารถกรอกข้อมูลคุณสมบัติเบื้องต้นและข้อมูลที่เกี่ยวข้อง พร้อมระบุพื้นที่ที่ประสงค์ในการปฏิบัติงาน
การจ้างงาน
คุณสมบัติของผู้สมัครเข้าร่วมโครงการ
ลักษณะและรายละเอียดภาระหน้าที่ของงาน
ผู้สนใจสามารถติดต่อสอบถามได้ที่
บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาฯ เปิดอบรมหลักสูตร “เครื่องมือการจัดการสิ่งแวดล้อม”
คณะสถาปัตย์ จุฬาฯ ต้อนรับผู้แทนจาก Indiana University สหรัฐอเมริกา เจรจาแนวทางความร่วมมือทางวิชาการ
ศศินทร์จัด Open House แนะนำหลักสูตรต่างๆ วันเสาร์ที่ 30 พฤศจิกายน 2567
30 พ.ย. 67 เวลา 10.00 น.
ศศินทร์ จุฬาฯ
เชิญฟังการบรรยาย Chula Lunch Talk หัวข้อ “Smart VET-Learning: นวัตกรรม AR สู่การศึกษาสัตวแพทย์ยุคดิจิทัล”
ครุศาสตร์ จุฬาฯ เชิญร่วมสองกิจกรรมโครงการ “เล่นเพลินสำหรับเด็กปฐมวัย” “นิทานฟังเพลิน” และ “Happy Play Day”
อาจารย์คณะแพทยศาสตร์ จุฬาฯ ได้รับการเชิดชูเกียรติเป็น “อาจารย์ดีเด่นแห่งชาติ ปอมท.” ประจำปี 2567
จุฬาฯ มีลักษณะของความเป็นพี่น้อง ความอบอุ่น เป็นสังคมที่อยากอนุรักษ์ไว้ ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จุฬาฯ มีลักษณะของความเป็นพี่น้อง ความอบอุ่น เป็นสังคมที่อยากอนุรักษ์ไว้
ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้ เพื่อมอบประสบการณ์การใช้งานที่ดีให้กับท่าน และเพื่อพัฒนาคุณภาพการให้บริการเว็บไซต์ที่ตรงต่อความต้องการของท่านมากยิ่งขึ้น ท่านสามารถทราบรายละเอียดเกี่ยวกับคุกกี้ได้ที่ นโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล และท่านสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า
ท่านสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น
ประเภทของคุกกี้ที่มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้ท่านสามารถใช้เว็บไซต์ได้อย่างเป็นปกติ ท่านไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้
คุกกี้ประเภทนี้จะทำการเก็บข้อมูลพฤติกรรมการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน โดยมีจุดประสงค์คือนำข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้มีคุณภาพ และสร้างประสบการณ์ที่ดีกับผู้ใช้งาน เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด หากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้นี้ เราอาจไม่สามารถวัดผลเพื่อการปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้ดีขึ้นได้ รายละเอียดคุกกี้