รู้จักจุฬาฯ
การบริหาร
อัตลักษณ์มหาวิทยาลัย
Green University
Sustainability
ติดต่อจุฬาฯ
บริจาคให้จุฬาฯ
หลักสูตร
การสมัครเข้าศึกษา
หน่วยงานการศึกษา
บริการนิสิต
บริการวิชาการ
บริการทางการแพทย์
บริการตรวจวิเคราะห์คุณภาพ
สารสนเทศและการสื่อสาร
พื้นที่สร้างสรรค์
ข่าวสารและความเคลื่อนไหว
วารสารจุฬาฯ
สาระความรู้
ข่าวสารจุฬาฯ
4 กรกฎาคม 2565
ข่าวเด่น, ความภูมิใจของจุฬาฯ
ผู้เขียน เมธาพร ไตรกิจวัฒนกุล
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยขอแสดงความยินดีกับทีมนิสิตชมรมซียูฮาร์ (Chulalongkorn University High Altitude Research Club – CUHAR) จากคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาฯ หลักสูตรนานาชาติ (ISE) สาขาวิศวกรรมอากาศยาน (Aerospace Engineering) เป็นตัวแทนประเทศไทยและภูมิภาคเอเชียทีมแรกในประวัติศาสตร์ เข้าร่วมการแข่งขันวิศวกรรมจรวดระดับอุดมศึกษาที่ใหญ่ที่สุดในโลก “Spaceport America Cup 2022” ณ เมือง Las Cruces รัฐนิวเม็กซิโก ประเทศสหรัฐอเมริกา และได้รับคัดเลือกให้ได้รับรางวัลรองชนะเลิศ Dr.Gil Moore Award ด้านความเป็นเลิศแห่งนวัตกรรมการออกแบบจรวดความเร็วเสียง โดยได้รับรางวัลร่วมกับทีมจาก Cornell University, USA และ University of Leeds, UK
นิสิตคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาฯ หลักสูตรนานาชาติ สาขาวิศวกรรมอากาศยาน รุ่นที่ 15 ประกอบด้วย
นายภูวิศ เชาวนปรีชานายพีรวิชญ์ จิระคุณากรนายนิธิพจน์ สืบพานิชนายกฤตนุ หงษ์วิหคนางสาวพรธีตรา รัตนพันธุ์ศรีนางสาวรชยา ดีเลิศกุลชัยนายพศิน มนัสปิยะนายภวินท์ กฤติยานิธินายภูวนัฏฐ์ พัทระฐวินันนายณภัทร พรถาวรวิทยานายตฤณ อุทัยสางนายรัชกฤช ศีลสัตย์นายธนกฤต มาลีสุทธิ์นายสิริวัชร์ สิริรัตนชัยกุล
ติดตามเรื่องราวและผลงานที่น่าภาคภูมิใจของนิสิตจุฬาฯ ทีม CUHAR ได้ที่ https://www.facebook.com/cu.highaltitude/
นิสิต BBA จุฬาฯ เยี่ยม! ทำคะแนนสอบ TCAS Inter 2024 ได้ที่ 1 ของประเทศ
ศูนย์หนังสือจุฬาฯ เชิญร่วมงานเสวนา “โปรตุเกส…เหตุที่รัก”
นิสิตสาขาวิชาศิลปศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาฯ คว้ารางวัลชนะเลิศการประกวดสีน้ำระดับอุดมศึกษา
คณะทันตแพทย์ จุฬาฯ ชวนช็อป ดีมีคืน กับ Chula Dent ในโครงการ Easy E-Receipt 2.0
ขอเชิญชาวจุฬาฯ ประกวดคลิปวิดีโอสร้างสรรค์ “Chula Ethics: Our Code, Our Way: วิถีเรา ตัวตนเรา”
เชิญชวนชาวจุฬาฯ ประกวดออกแบบมาสคอต “Chula Mascot challenge ตัวแทนแห่งความโปร่งใส: CU Good gift mascot”
จุฬาฯ มีลักษณะของความเป็นพี่น้อง ความอบอุ่น เป็นสังคมที่อยากอนุรักษ์ไว้ ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จุฬาฯ มีลักษณะของความเป็นพี่น้อง ความอบอุ่น เป็นสังคมที่อยากอนุรักษ์ไว้
ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้ เพื่อมอบประสบการณ์การใช้งานที่ดีให้กับท่าน และเพื่อพัฒนาคุณภาพการให้บริการเว็บไซต์ที่ตรงต่อความต้องการของท่านมากยิ่งขึ้น ท่านสามารถทราบรายละเอียดเกี่ยวกับคุกกี้ได้ที่ นโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล และท่านสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า
ท่านสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น
ประเภทของคุกกี้ที่มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้ท่านสามารถใช้เว็บไซต์ได้อย่างเป็นปกติ ท่านไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้
คุกกี้ประเภทนี้จะทำการเก็บข้อมูลพฤติกรรมการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน โดยมีจุดประสงค์คือนำข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้มีคุณภาพ และสร้างประสบการณ์ที่ดีกับผู้ใช้งาน เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด หากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้นี้ เราอาจไม่สามารถวัดผลเพื่อการปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้ดีขึ้นได้ รายละเอียดคุกกี้