รู้จักจุฬาฯ
การบริหาร
อัตลักษณ์มหาวิทยาลัย
Green University
Sustainability
ติดต่อจุฬาฯ
บริจาคให้จุฬาฯ
หลักสูตร
การสมัครเข้าศึกษา
หน่วยงานการศึกษา
บริการนิสิต
บริการวิชาการ
บริการทางการแพทย์
บริการตรวจวิเคราะห์คุณภาพ
สารสนเทศและการสื่อสาร
พื้นที่สร้างสรรค์
ข่าวสารและความเคลื่อนไหว
วารสารจุฬาฯ
สาระความรู้
ข่าวสารจุฬาฯ
23 เมษายน 2561
ข่าวเด่น
สำนักบริหารศิลปวัฒนธรรม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ขอเชิญผู้สนใจฟังการอภิปรายเรื่อง “เหม เวชกร: จิตรกร –นักประพันธ์ กับวันในอดีต” โดย รศ. สุธี คุณาวิชยานนท์ หัวหน้าภาควิชาทฤษฎีศิลป์ คณะจิตรกรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร นทธี ศศิวิมล นักเขียนอิสระ เจ้าของคอลัมน์ “หลอน” นสพ. ข่าวสด อเนก นาวิกมูล ผู้รอบรู้ศิลปะพื้นบ้าน เจ้าของผลงานอมตะ “เพลงนอกศตวรรษ” ดำเนินการอภิปรายโดยเอกภัทร เชิดธรรมธร ผู้ประกาศข่าว มติชนทีวี ในวันจันทร์ที่ 30 เมษายน 2561 เวลา 13.30-16.30 น. ณ หอแสดงดนตรี อาคารศิลปวัฒนธรรม จุฬาฯ
สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่กองบรรณาธิการศิลปวัฒนธรรม โทร. 0 2580 0021-40 ต่อ 1206, 1228 หรือ สำนักบริหารศิลปวัฒนธรรม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โทร. 0- 2218 3645-6 และถ่ายทอดสดตลอดการเสวนาผ่าน Facebook Live ของมติชน
เหม เวชกร จิตรกรที่ได้รับสมัญญาว่าเป็น “จิตรกรมือเทวดา” ได้สร้างสรรค์ผลงานไว้จำนวนมาก นับตั้งแต่ภาพปกนวนิยาย ภาพวิจิตรวรรณคดีไทย พุทธประวัติ และร่วมบูรณะภาพชุดรามเกียรติ์ในวัดพระศรีรัตนศาสดาราม ในฐานะนักประพันธ์ ผู้สร้างผลงานอมตะ เหม เวชกร คือผู้บุกเบิกนวนิยายที่เรียกกันต่อมาว่า “ปีศาจนิยาย”นับตั้งแต่หนังสือเรื่อง “ผี” ของท่านปรากฏขึ้นในปี 2476 ก่อนที่จะมีผู้ดำเนินรอยตามมาตลอดเวลากว่าแปดทศวรรษ ผลงานของท่านล้วนสะท้อนและบันทึกวิถีชีวิตและสังคมของผู้คนในวันเวลาแห่งอดีต
คณะแพทยศาสตร์ จุฬาฯ เชิญร่วมบริจาคสมทบกองทุนเพื่อการวิจัยด้านศัลยศาสตร์ สนับสนุนการพัฒนาและนวัตกรรมทางการแพทย์
เชิญชวนบุคลากรจุฬาฯ ร่วมกิจกรรม “เฮลท์ตี้…Young? เติมพลังชาวจุฬาฯ” รุ่นที่ 2
จุฬาฯ จับมือ SE Life อาคเนย์ประกันชีวิต มอบความคุ้มครองให้บุคลากร ปีที่ 2 พร้อมลงนามสัญญายกระดับให้บริการทันตกรรม
บทความพิเศษ ศศินทร์ จุฬาฯ: ส่องการศึกษาไทยในยุคที่เด็กเกิดน้อย
จุฬาฯ – สสว. ส่งเสริม SMEs ไทยสู่ความมั่นคงและยั่งยืนด้วยนวัตกรรม AI รายงาน Carbon Footprint
อธิการบดีจุฬาฯ ชี้อนาคตการศึกษาที่ขับเคลื่อนด้วย AI ความท้าทายของสถาบันอุดมศึกษาที่จะต้องปรับบทบาทใหม่
จุฬาฯ มีลักษณะของความเป็นพี่น้อง ความอบอุ่น เป็นสังคมที่อยากอนุรักษ์ไว้ ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จุฬาฯ มีลักษณะของความเป็นพี่น้อง ความอบอุ่น เป็นสังคมที่อยากอนุรักษ์ไว้
ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้ เพื่อมอบประสบการณ์การใช้งานที่ดีให้กับท่าน และเพื่อพัฒนาคุณภาพการให้บริการเว็บไซต์ที่ตรงต่อความต้องการของท่านมากยิ่งขึ้น ท่านสามารถทราบรายละเอียดเกี่ยวกับคุกกี้ได้ที่ นโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล และท่านสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า
ท่านสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น
ประเภทของคุกกี้ที่มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้ท่านสามารถใช้เว็บไซต์ได้อย่างเป็นปกติ ท่านไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้
คุกกี้ประเภทนี้จะทำการเก็บข้อมูลพฤติกรรมการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน โดยมีจุดประสงค์คือนำข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้มีคุณภาพ และสร้างประสบการณ์ที่ดีกับผู้ใช้งาน เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด หากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้นี้ เราอาจไม่สามารถวัดผลเพื่อการปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้ดีขึ้นได้ รายละเอียดคุกกี้