รู้จักจุฬาฯ
การบริหาร
อัตลักษณ์มหาวิทยาลัย
Green University
Sustainability
ติดต่อจุฬาฯ
บริจาคให้จุฬาฯ
หลักสูตร
การสมัครเข้าศึกษา
หน่วยงานการศึกษา
บริการนิสิต
บริการวิชาการ
บริการทางการแพทย์
บริการตรวจวิเคราะห์คุณภาพ
สารสนเทศและการสื่อสาร
พื้นที่สร้างสรรค์
ข่าวสารและความเคลื่อนไหว
วารสารจุฬาฯ
สาระความรู้
ข่าวสารจุฬาฯ
9 กันยายน 2565
ข่าวเด่น, ปฏิทินกิจกรรม
ผู้เขียน นิธิกานต์ ปภรภัฒ
ศูนย์ปฏิบัติการศิลปกรรมดิจิทัล (Faamai Digital Arts Hub) คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เชิญชวนผู้สนใจร่วมกิจกรรม Exclusive Talk “When Art Meets Technology” ในวันเสาร์ที่ 17 กันยายน 2565 เวลา 10.00 น. เป็นต้นไป ทางเพจ Facebook Live : FAAMAI Digital Arts Hub & GroundControl
ร่วมสนทนากับคุณพีพี-พัทน์ ภัทรนุธาพร นักเทคโนโลยีจาก MIT Media Lab ผู้อยู่เบื้องหลังผลงานศิลปะร่วมสมัยมากมาย คุณแพรว-กวิตา วัฒนะชยังกูร ศิลปิน Media และ Performance Art ผู้ใช้การเคลื่อนไหวของร่างกายบอกเล่าความเป็นไปในสังคม และ คุณผ้าป่าน-สิริมา ไชยปรีชาวิทย์ จาก GroundControl ที่จะพาทุกคนไปสำรวจความหมายของคำว่า ‘ศิลปะ’ ทั้งในมุมมองของนักเทคโนโลยีและศิลปิน ซึ่งปฏิเสธไม่ได้ว่า เทคโนโลยีที่ก้าวล้ำได้เข้ามามีบทบาทในแวดวงศิลปะร่วมสมัยในปัจจุบันไม่น้อย Exclusive Talk ครั้งนี้ยังพาทุกคนไปฟังเรื่องราวการทำงานในซีรี่ส์ Cyber Labour ที่พีพี-พัทน์และแพรว-กวิตากำลังพัฒนาร่วมกัน ตั้งแต่ Mental Machine: Labour in the Self Economy ผลงานที่ถูกจัดแสดงครั้งแรกที่ Art Gallery of Western Australia (AGWA) เมื่อเร็วๆนี้ ไปจนถึง Voice of the Oppressed ผลงานที่กำลังจะเปิดตัวเป็นครั้งแรกในงาน Bangkok Art Biennale 2022 ในช่วงเดือนตุลาคมที่จะถึงนี้ นอกจากนี้ยังชวนทุกคนมาร่วมตั้งคำถามถึงความเป็นไปได้ใหม่ ๆ ในอนาคตที่นวัตกรรมปัญญาประดิษฐ์อาจเข้ามามีบทบาทในโลกศิลปะมากขึ้น ทั้งในแง่แนวคิด กระบวนการ และการนำเสนอ
ผู้สนใจสามารถสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ https://www.facebook.com/chulafaamai/ หรือ https://www.facebook.com/GroundControlTh/
ศูนย์หนังสือจุฬาฯ เชิญร่วมงานเสวนา “โปรตุเกส…เหตุที่รัก”
นิสิตสาขาวิชาศิลปศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาฯ คว้ารางวัลชนะเลิศการประกวดสีน้ำระดับอุดมศึกษา
คณะทันตแพทย์ จุฬาฯ ชวนช็อป ดีมีคืน กับ Chula Dent ในโครงการ Easy E-Receipt 2.0
ขอเชิญชาวจุฬาฯ ประกวดคลิปวิดีโอสร้างสรรค์ “Chula Ethics: Our Code, Our Way: วิถีเรา ตัวตนเรา”
เชิญชวนชาวจุฬาฯ ประกวดออกแบบมาสคอต “Chula Mascot challenge ตัวแทนแห่งความโปร่งใส: CU Good gift mascot”
จุฬาฯ หัวเว่ย และ BUPT ร่วมพัฒนาบุคลากร ICT ในงาน Asia Pacific Cloud AI Forum & Huawei Developer Competition
จุฬาฯ มีลักษณะของความเป็นพี่น้อง ความอบอุ่น เป็นสังคมที่อยากอนุรักษ์ไว้ ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จุฬาฯ มีลักษณะของความเป็นพี่น้อง ความอบอุ่น เป็นสังคมที่อยากอนุรักษ์ไว้
ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้ เพื่อมอบประสบการณ์การใช้งานที่ดีให้กับท่าน และเพื่อพัฒนาคุณภาพการให้บริการเว็บไซต์ที่ตรงต่อความต้องการของท่านมากยิ่งขึ้น ท่านสามารถทราบรายละเอียดเกี่ยวกับคุกกี้ได้ที่ นโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล และท่านสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า
ท่านสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น
ประเภทของคุกกี้ที่มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้ท่านสามารถใช้เว็บไซต์ได้อย่างเป็นปกติ ท่านไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้
คุกกี้ประเภทนี้จะทำการเก็บข้อมูลพฤติกรรมการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน โดยมีจุดประสงค์คือนำข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้มีคุณภาพ และสร้างประสบการณ์ที่ดีกับผู้ใช้งาน เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด หากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้นี้ เราอาจไม่สามารถวัดผลเพื่อการปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้ดีขึ้นได้ รายละเอียดคุกกี้