รู้จักจุฬาฯ
การบริหาร
อัตลักษณ์มหาวิทยาลัย
Green University
Sustainability
ติดต่อจุฬาฯ
บริจาคให้จุฬาฯ
หลักสูตร
การสมัครเข้าศึกษา
หน่วยงานการศึกษา
บริการนิสิต
บริการวิชาการ
บริการทางการแพทย์
บริการตรวจวิเคราะห์คุณภาพ
สารสนเทศและการสื่อสาร
พื้นที่สร้างสรรค์
ข่าวสารและความเคลื่อนไหว
วารสารจุฬาฯ
สาระความรู้
ข่าวสารจุฬาฯ
19 กันยายน 2565
ข่าวเด่น, ปฏิทินกิจกรรม
ผู้เขียน ขนิษฐา จันทร์เจริญ
21 กันยายน 2565 เวลา 09.00 -17.00 น.
ห้องประชุม 801 ชั้น 8 อาคารจามจุรี 10
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับองค์กรผู้นำนักศึกษา ไอเซค ประเทศไทย และบริษัทโกลบิชอคาเดเมีย (ไทยแลนด์) เป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันนำเสนอแนวคิดเพื่อยุติความรุนแรงและการข่มเหงรังแกในโรงเรียน รอบชิงชนะเลิศ เป็นการนำเสนอโครงการ (Final Pitching) ของโครงการ International Friends for Peace 2022 ซึ่งจัดขึ้นเป็นครั้งแรกในประเทศไทย ในวันพุธที่ 21 กันยายน 2565 เวลา 09.00 –17.00 น. ณ ห้องประชุม 801 ชั้น 8 อาคารจามจุรี 10 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ซึ่งตรงกับวันสันติภาพโลก (International Peace Day) โดยจะมีการประกาศผลรางวัล พร้อมกับกล่าวความรู้สึกโดยตัวแทนกรรมการและตัวแทนนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นผู้เข้าแข่งขันในเวลา 15.00 น. เป็นต้นไป
โครงการ International Friends for Peace 2022 จัดโดยองค์กรผู้นำนักศึกษา ไอเซค ประเทศไทย และบริษัทโกลบิชอคาเดเมีย (ไทยแลนด์) ซึ่งเป็นธุรกิจสตาร์ทอัพด้านการศึกษาของศูนย์นวัตกรรมแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (Chulalongkorn University Innovation Hub) ทั้งนี้ได้มีการเริ่มต้นค้นหาตัวแทนเยาวชนเพื่อเป็นผู้นำด้านสันติภาพ หรือ Peace Leader รุ่นแรกตั้งแต่เดือนกรกฎาคม 2565 โดยดำเนินการคัดเลือกนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นจำนวนกว่าหมื่นคนจากโรงเรียนต่างๆ ทั่วประเทศ เพื่อเป็นผู้นำที่มีคุณสมบัติหลักคือมีความปรารถนา (Passion) และความมุ่งมั่น (Commitment) ที่พร้อมจะสร้างความเปลี่ยนแปลง และเป็นกระบอกเสียงให้กับเพื่อนเยาวชนด้วยกันในการคิดสร้างสรรค์นวัตกรรมเพื่อช่วยลดปัญหาความรุนแรงในโรงเรียน ผลการคัดเลือกเยาวชนช่วงสามเดือนที่ผ่านมาในโครงการนี้ มีตัวแทนนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นเข้าผ่านเข้าร่วมโครงการจำนวน 1,300 คน และมีผู้ผ่านเข้ารอบที่ 4 ซึ่งเป็นรอบสุดท้าย จำนวน 30 คนที่มีคุณสมบัติเหมาะสมเป็นผู้นำด้านสันติภาพรุ่นแรก โครงการนี้ถือเป็นจุดเริ่มต้นเล็กๆ เพื่อเตรียมพร้อมสร้างตัวแทนเยาวชนที่จะมาร่วมเป็นผู้นำด้านสันติภาพในระดับมัธยมปลายและระดับมหาวิทยาลัยในปีต่อไป
นิสิตคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาฯ และคณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาฯ คว้ารางวัลชนะเลิศจากการแข่งขัน Spark the Local 2024 by PTT
บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาฯ เปิดอบรมหลักสูตร “เครื่องมือการจัดการสิ่งแวดล้อม”
คณะสถาปัตย์ จุฬาฯ ต้อนรับผู้แทนจาก Indiana University สหรัฐอเมริกา เจรจาแนวทางความร่วมมือทางวิชาการ
ศศินทร์จัด Open House แนะนำหลักสูตรต่างๆ วันเสาร์ที่ 30 พฤศจิกายน 2567
30 พ.ย. 67 เวลา 10.00 น.
ศศินทร์ จุฬาฯ
เชิญฟังการบรรยาย Chula Lunch Talk หัวข้อ “Smart VET-Learning: นวัตกรรม AR สู่การศึกษาสัตวแพทย์ยุคดิจิทัล”
ครุศาสตร์ จุฬาฯ เชิญร่วมสองกิจกรรมโครงการ “เล่นเพลินสำหรับเด็กปฐมวัย” “นิทานฟังเพลิน” และ “Happy Play Day”
จุฬาฯ มีลักษณะของความเป็นพี่น้อง ความอบอุ่น เป็นสังคมที่อยากอนุรักษ์ไว้ ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จุฬาฯ มีลักษณะของความเป็นพี่น้อง ความอบอุ่น เป็นสังคมที่อยากอนุรักษ์ไว้
ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้ เพื่อมอบประสบการณ์การใช้งานที่ดีให้กับท่าน และเพื่อพัฒนาคุณภาพการให้บริการเว็บไซต์ที่ตรงต่อความต้องการของท่านมากยิ่งขึ้น ท่านสามารถทราบรายละเอียดเกี่ยวกับคุกกี้ได้ที่ นโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล และท่านสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า
ท่านสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น
ประเภทของคุกกี้ที่มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้ท่านสามารถใช้เว็บไซต์ได้อย่างเป็นปกติ ท่านไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้
คุกกี้ประเภทนี้จะทำการเก็บข้อมูลพฤติกรรมการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน โดยมีจุดประสงค์คือนำข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้มีคุณภาพ และสร้างประสบการณ์ที่ดีกับผู้ใช้งาน เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด หากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้นี้ เราอาจไม่สามารถวัดผลเพื่อการปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้ดีขึ้นได้ รายละเอียดคุกกี้