รู้จักจุฬาฯ
การบริหาร
อัตลักษณ์มหาวิทยาลัย
Green University
Sustainability
ติดต่อจุฬาฯ
บริจาคให้จุฬาฯ
หลักสูตร
การสมัครเข้าศึกษา
หน่วยงานการศึกษา
บริการนิสิต
บริการวิชาการ
บริการทางการแพทย์
บริการตรวจวิเคราะห์คุณภาพ
สารสนเทศและการสื่อสาร
พื้นที่สร้างสรรค์
ข่าวสารและความเคลื่อนไหว
วารสารจุฬาฯ
สาระความรู้
ข่าวสารจุฬาฯ
31 ตุลาคม 2565
ข่าวเด่น, ความภูมิใจของจุฬาฯ
ผู้เขียน สุรเดช พันธุ์ลี
เมื่อวันพุธที่ 26 ตุลาคม 2565 ศ.ดร.บัณฑิต เอื้ออาภรณ์ อธิการบดีจุฬาฯ รับมอบหม้อแปลงใต้น้ำ ระบบสายไฟฟ้าใต้ดิน ลดคาร์บอน (Submersible Transformer Low Carbon) ที่แรกของโลก ซึ่งนำร่องติดตั้งที่ สยามสแควร์ บริเวณริมถนนอังรีดูนังต์ จากคุณประจักษ์ กิตติรัตนวิวัฒน์ รองกรรมการ บริษัท เจริญชัย หม้อแปลงไฟฟ้าจำกัด และคุณนพชัย ถิรทิตสกุล ประธานกรรมการเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัทอีโนวา อินทิเกรชั่น จำกัด โดยมี รศ.ดร.จิตติศักดิ์ ธรรมาภรณ์พิลาศ รองอธิการบดี จุฬาฯ รศ.ดร.วิศณุ ทรัพย์สมพล รองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ร่วมในพิธี
หม้อแปลงซับเมอร์ส เป็นนวัตกรรมของคนไทยที่ลดคาร์บอนได้ถึง 100 ล้านตันต่อปี เพื่อนำร่องความมั่นคงทางระบบไฟฟ้า ความปลอดภัย ความทันสมัย รวมถึงการจัดการความมั่นคงด้านพลังงาน ตามนโยบายการเพิ่มศักยภาพเมือง สร้างมิติใหม่การเป็นเมือง Smart City ของกรุงเทพมหานคร ที่ต้องการยกระดับเป็นมหานครแห่งอาเซียน เป็นเมืองท่องเที่ยวของนักท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน รวมทั้งลดพลังงาน ลดการปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์สุทธิให้เป็นศูนย์ หรือ Net Zero Emission ภายในปี 2065 ตามนโยบายของรัฐบาล
สำหรับพื้นที่สยามสแควร์ เป็นต้นแบบของ Samyan Smart City ในการจัดการความมั่นคงด้านพลังงานด้วยการนำสายไฟฟ้าและหม้อแปลงลงดินทั้งระบบ ซึ่งจะทำให้พื้นที่แห่งนี้มีภูมิทัศน์สวยงาม มีความปลอดภัยให้กับประชาชนทั้งชาวไทยและนักท่องเที่ยวต่างชาติที่เข้ามาท่องเที่ยวในพื้นที่ ซึ่งสยามสแควร์จะเป็นโครงการนำร่องไร้สายครอบคลุมทั้งหมดกว่า 63 ไร่ ถ้ายกระดับเมืองอัจฉริยะเกิดประสิทธิภาพสูงสุด หลังจากนี้ ทางจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยจะทำการขยายผลต่อให้ครอบคลุมพื้นที่ทั้งหมดที่มีมากกว่า 1,000 ไร่ เพื่อการพัฒนานำสายไฟลงดินทั้งหมด
จุฬาฯ เจ้าภาพการประชุมสามัญที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย และสมาคมที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 1/2568
จุฬาฯ จัดงานเลี้ยงรับรองผู้บริหารมหาวิทยาลัยที่เข้าร่วมการประชุมสามัญ ทปอ. ครั้งที่ 1/2568
อบรมเชิงปฏิบัติการ “S.M.A.R.T Communication: พัฒนาทักษะการสื่อสารเพื่อสร้างผลลัพธ์และบรรยากาศที่ดี”
ขอเชิญชวนคณาจารย์จุฬาฯ สมัครและเสนอชื่อผู้สมัครรับเลือกตั้งสมาชิกสภาคณาจารย์ จุฬาฯ พ.ศ. 2568
3-10 มี.ค. 2568
ขอเชิญร่วมงาน “วันอ้วนโลก“ World Obesity Day 2025 “อ้วนแล้วเปลี่ยน… เริ่มวันนี้ เพื่อชีวิตที่ยั่งยืน” 1 มีนาคม 2568 ณ ชั้น 9 อาคาร SiamScape
1 มีนาคม 2568 เวลา 09.30-15.00 น. ชั้น 9 อาคาร SiamScape
จุฬาฯ ร่วมเปิดงาน “เทศกาลบางแสนเพลิน” กิจกรรมสร้างสรรค์จากงานวิจัยสู่ชุมชน
จุฬาฯ มีลักษณะของความเป็นพี่น้อง ความอบอุ่น เป็นสังคมที่อยากอนุรักษ์ไว้ ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จุฬาฯ มีลักษณะของความเป็นพี่น้อง ความอบอุ่น เป็นสังคมที่อยากอนุรักษ์ไว้
ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้ เพื่อมอบประสบการณ์การใช้งานที่ดีให้กับท่าน และเพื่อพัฒนาคุณภาพการให้บริการเว็บไซต์ที่ตรงต่อความต้องการของท่านมากยิ่งขึ้น ท่านสามารถทราบรายละเอียดเกี่ยวกับคุกกี้ได้ที่ นโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล และท่านสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า
ท่านสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น
ประเภทของคุกกี้ที่มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้ท่านสามารถใช้เว็บไซต์ได้อย่างเป็นปกติ ท่านไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้
คุกกี้ประเภทนี้จะทำการเก็บข้อมูลพฤติกรรมการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน โดยมีจุดประสงค์คือนำข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้มีคุณภาพ และสร้างประสบการณ์ที่ดีกับผู้ใช้งาน เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด หากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้นี้ เราอาจไม่สามารถวัดผลเพื่อการปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้ดีขึ้นได้ รายละเอียดคุกกี้