รู้จักจุฬาฯ
การบริหาร
อัตลักษณ์มหาวิทยาลัย
Green University
Sustainability
ติดต่อจุฬาฯ
บริจาคให้จุฬาฯ
หลักสูตร
การสมัครเข้าศึกษา
หน่วยงานการศึกษา
บริการนิสิต
บริการวิชาการ
บริการทางการแพทย์
บริการตรวจวิเคราะห์คุณภาพ
สารสนเทศและการสื่อสาร
พื้นที่สร้างสรรค์
ข่าวสารและความเคลื่อนไหว
วารสารจุฬาฯ
สาระความรู้
ข่าวสารจุฬาฯ
8 พฤศจิกายน 2565
ข่าวเด่น
ผู้เขียน สุรเดช พันธุ์ลี
ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรบัณฑิตจุฬาฯ ปีการศึกษา 2564 วันพฤหัสบดีที่ 10 และวันศุกร์ที่ 11 พฤศจิกายน 2565 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยกำหนดเปิด – ปิดประตูต่างๆ และการจัดการจราจรในมหาวิทยาลัยในวันดังกล่าว ดังนี้
1. ปิดประตูหน้ามหาวิทยาลัยฝั่งหอประชุมจุฬาฯ ด้านถนนพญาไท ทั้งทางเข้าและทางออก กำหนดเป็นเส้นทางเสด็จฯ และจัดเจ้าหน้าที่ รปภ.ประจำเตรียมพร้อมเปิดประตูให้กับรถขององคมนตรี คณะผู้บริหารมหาวิทยาลัย กรรมการสภามหาวิทยาลัย และรถที่มีบัตรเชิญพิเศษผ่านเข้า – ออก
2. ปิดประตูคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ โดยเปิดประตูทางเท้าฝั่งคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ เวลา 05.00 – 22.00 น.
3. ปิดประตูคณะวิทยาศาสตร์ เจ้าหน้าที่จะอนุญาตเปิดประตูเฉพาะรถของผู้บริหาร และรถที่มีบัตรเชิญพิเศษผ่านเข้า – ออกได้ในช่วงที่มีการเตรียมเส้นทางใกล้เวลาเสด็จฯ สำหรับประตูทางเท้าให้เปิดเวลา 03.00 – 22.00 น.
4. ปิดการจราจรแยกหอนาฬิกา ห้ามรถที่ไม่เกี่ยวข้องผ่านเข้ามาบริเวณวงเวียนเสาธง หน้าหอประชุมใหญ่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เจ้าหน้าที่จะอนุญาตเฉพาะรถที่มีบัตรอนุญาตพิเศษ
5. ปิดการจราจรแยกพิพิธภัณฑ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ห้ามรถที่ไม่เกี่ยวข้องเลี้ยวขวาเข้ามาบริเวณวงเวียนเสาธงหน้าหอประชุมใหญ่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อนุญาตเฉพาะรถที่มีบัตรอนุญาตพิเศษ
6..ปิดประตูคณะอักษรศาสตร์ตลอดเวลา สำหรับประตูทางเท้าให้เปิดไว้ถึงเวลา 22.00 น. ส่วนประตูทางเข้าอาคารจอดรถ 2 ให้เข้าเฉพาะรถยนต์ที่จะขึ้นจอดบนอาคารเท่านั้น ไม่อนุญาตให้รถยนต์ผ่านเข้ามาในมหาวิทยาลัย
7. เปิดประตูคณะรัฐศาสตร์ เวลา 05.00 – 22.00 น. รถยนต์ทั่วไปสามารถผ่านเข้า – ออกและขึ้นจอดรถ ที่อาคารจอดรถ 3 ได้
8. ปิดการจราจรที่แยกหน้าอาคารวิศิษฐ์ ประจวบเหมาะ ตรวจสอบรถ อนุญาตเฉพาะรถที่มีตราติดรถยนต์ของมหาวิทยาลัย และรถที่มีบัตรอนุญาตพิเศษผ่านเข้า – ออกได้ กรณีรถจักรยานยนต์อนุญาตเฉพาะรถของบุคลากรและผู้ที่ปฏิบัติงานของมหาวิทยาลัยหรือบริษัทที่มีความเกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยเท่านั้น
9. ปิดการจราจรที่แยกลานจักรพงษ์ ตรวจสอบรถ อนุญาตเฉพาะรถที่มีบัตรอนุญาตพิเศษ กรณีรถยนต์ของบุคลากรคณะวิศวกรรมศาสตร์ แนะนำให้นำรถยนต์เข้า – ออกด้านภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า (ใกล้ร้านกาแฟทรู)
10. ปิดประตูคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี ส่วนประตูทางเท้าเปิดตลอดเวลา
11. ประตูทางเท้าด้านจามจุรีสแควร์ เปิดเวลา 05.00 – 22.00 น.
12. ประตูคณะเภสัชศาสตร์ เปิดตามเวลาปกติเวลา 05.00 – 22.00 น.
13. ประตูด้านอาคารวิศวกรรมสถาน ปิดตลอดเวลา
14. ประตูสำนักงานมหาวิทยาลัย เปิดเวลา 05.00 – 22.00 น.
15. ประตูคณะนิเทศศาสตร์ เปิดเวลา 05.00 – 22.00 น.
16. ประตูสถาบันศศินทร์ เปิดเวลา 05.00 – 24.00 น.
17. ประตูสนามกีฬาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เปิดเวลา 05.00 – 22.00 น.
18. ประตูธรรมสถาน เปิดตลอดเวลา
19. ประตูข้างอาคารจามจุรี 9 เปิดตามเวลาปกติเวลา 05.00 –22.00 น.
หมายเหตุ – งดให้บริการรถสกู๊ดเตอร์ไฟฟ้า และรถจักรยานในฝั่งหอประชุมจุฬาฯ
– รถสามล้อมูฟมีจะไม่เข้ามหาวิทยาลัย ส่วนที่ประตูรัฐศาสตร์ รถสามล้อมูฟมีจะผ่านเข้าถึงหน้าอาคารเกษมอุทยานินเท่านั้น
นิสิตคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาฯ และคณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาฯ คว้ารางวัลชนะเลิศจากการแข่งขัน Spark the Local 2024 by PTT
บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาฯ เปิดอบรมหลักสูตร “เครื่องมือการจัดการสิ่งแวดล้อม”
คณะสถาปัตย์ จุฬาฯ ต้อนรับผู้แทนจาก Indiana University สหรัฐอเมริกา เจรจาแนวทางความร่วมมือทางวิชาการ
ศศินทร์จัด Open House แนะนำหลักสูตรต่างๆ วันเสาร์ที่ 30 พฤศจิกายน 2567
30 พ.ย. 67 เวลา 10.00 น.
ศศินทร์ จุฬาฯ
เชิญฟังการบรรยาย Chula Lunch Talk หัวข้อ “Smart VET-Learning: นวัตกรรม AR สู่การศึกษาสัตวแพทย์ยุคดิจิทัล”
ครุศาสตร์ จุฬาฯ เชิญร่วมสองกิจกรรมโครงการ “เล่นเพลินสำหรับเด็กปฐมวัย” “นิทานฟังเพลิน” และ “Happy Play Day”
จุฬาฯ มีลักษณะของความเป็นพี่น้อง ความอบอุ่น เป็นสังคมที่อยากอนุรักษ์ไว้ ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จุฬาฯ มีลักษณะของความเป็นพี่น้อง ความอบอุ่น เป็นสังคมที่อยากอนุรักษ์ไว้
ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้ เพื่อมอบประสบการณ์การใช้งานที่ดีให้กับท่าน และเพื่อพัฒนาคุณภาพการให้บริการเว็บไซต์ที่ตรงต่อความต้องการของท่านมากยิ่งขึ้น ท่านสามารถทราบรายละเอียดเกี่ยวกับคุกกี้ได้ที่ นโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล และท่านสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า
ท่านสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น
ประเภทของคุกกี้ที่มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้ท่านสามารถใช้เว็บไซต์ได้อย่างเป็นปกติ ท่านไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้
คุกกี้ประเภทนี้จะทำการเก็บข้อมูลพฤติกรรมการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน โดยมีจุดประสงค์คือนำข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้มีคุณภาพ และสร้างประสบการณ์ที่ดีกับผู้ใช้งาน เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด หากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้นี้ เราอาจไม่สามารถวัดผลเพื่อการปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้ดีขึ้นได้ รายละเอียดคุกกี้