รู้จักจุฬาฯ
การบริหาร
อัตลักษณ์มหาวิทยาลัย
Green University
Sustainability
ติดต่อจุฬาฯ
บริจาคให้จุฬาฯ
หลักสูตร
การสมัครเข้าศึกษา
หน่วยงานการศึกษา
บริการนิสิต
บริการวิชาการ
บริการทางการแพทย์
บริการตรวจวิเคราะห์คุณภาพ
สารสนเทศและการสื่อสาร
พื้นที่สร้างสรรค์
ข่าวสารและความเคลื่อนไหว
วารสารจุฬาฯ
สาระความรู้
ข่าวสารจุฬาฯ
3 มกราคม 2566
ข่าวเด่น, ปฏิทินกิจกรรม, หลักสูตรระยะสั้น
ผู้เขียน ขนิษฐา จันทร์เจริญ
วันที่ 27 มกราคม 2566 เวลา 13.00 – 15.30 น.
ห้องประชุม ศ.บำรุงสุข สีหอำไพ ห้อง 1001 ชั้น 10 อาคารมงกุฎสมมติวงศ์ คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาฯ
ศูนย์ส่งเสริมการวิจัยในภูมิภาคเอเชียของมูลนิธิเกาหลีเพื่อการศึกษาขั้นสูง ร่วมกับศูนย์เอเชียใต้ศึกษา สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาฯ และภาควิชาการภาพยนตร์และภาพนิ่ง คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาฯ ขอเชิญผู้สนใจร่วมเปิดมุมมองเกี่ยวกับความพิการในภาพยนตร์ ในงานเสวนาวิชาการหัวข้อ “Disabilities in Film” ในวันศุกร์ที่ 27 มกราคม 2566 เวลา 13.00 – 15.30 น. ณ ห้องประชุม ศ.บำรุงสุข สีหอำไพ ห้อง 1001 ชั้น 10 อาคารมงกุฎสมมติวงศ์ คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาฯ
ร่วมเสวนาโดย
– ดร.ลักษณ์นัยน์ ทรงเสี่ยงไชย สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาฯ
– อ.ธนพล เชาวน์วานิชย์ คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาฯ
– คุณปิยะวัลย์ องค์สุวรรณ ผู้จัดการโครงการ Movie2gether บริษัท กล่องดินสอ จำกัด
– คุณทิพภาวรรณ พลล่องช้าง ผู้กำกับภาพยนตร์อิสระ และอาจารย์ผู้ช่วย สาขาการจัดการธุรกิจไซเบอร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
ผู้สนใจสามารถลงทะเบียนเข้าร่วมการเสวนาได้ที่ https://docs.google.com/forms/d/e/1FAIpQLScUhr6kjxr591MOfCNuuPxApS6JflhAvabMm32jKtb63CZZzg/viewform หรือสแกนคิวอาร์โค้ดได้ที่ด้านล่างโปสเตอร์ประชาสัมพันธ์
อธิการบดีจุฬาฯ พบรัฐมนตรีศึกษาฯ กัมพูชา ศิษย์เก่าครุศาสตร์ กระชับความสัมพันธ์และบูรณาการความรู้เพื่อเยาวชนในภูมิภาค
นิสิตคณะอักษรศาสตร์ จุฬาฯ ชนะเลิศการแข่งขันกล่าวสุนทรพจน์ภาษาญี่ปุ่นระดับอุดมศึกษา AEON 1% Club Japanese Speech Contest 2024
Chula SIFE เปิดรับสมัคร SIFE Social Enterprise Case Competition 2025
สถาปัตย์ จุฬาฯ จัดการบรรยายพิเศษ Lecture Series ครั้งที่ 4-5 หัวข้อ “Architecture & Design for Society”
“ย่านบรรทัดทอง สวนหลวง สามย่าน” คว้ารางวัล WOW AWARDS 2025 จากสมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมภ์
สถาปัตย์ จุฬาฯ จัดการบรรยายพิเศษ Lecture Series ครั้งที่ 2-3 หัวข้อ “Architecture & Design for Society”
จุฬาฯ มีลักษณะของความเป็นพี่น้อง ความอบอุ่น เป็นสังคมที่อยากอนุรักษ์ไว้ ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จุฬาฯ มีลักษณะของความเป็นพี่น้อง ความอบอุ่น เป็นสังคมที่อยากอนุรักษ์ไว้
ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้ เพื่อมอบประสบการณ์การใช้งานที่ดีให้กับท่าน และเพื่อพัฒนาคุณภาพการให้บริการเว็บไซต์ที่ตรงต่อความต้องการของท่านมากยิ่งขึ้น ท่านสามารถทราบรายละเอียดเกี่ยวกับคุกกี้ได้ที่ นโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล และท่านสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า
ท่านสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น
ประเภทของคุกกี้ที่มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้ท่านสามารถใช้เว็บไซต์ได้อย่างเป็นปกติ ท่านไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้
คุกกี้ประเภทนี้จะทำการเก็บข้อมูลพฤติกรรมการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน โดยมีจุดประสงค์คือนำข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้มีคุณภาพ และสร้างประสบการณ์ที่ดีกับผู้ใช้งาน เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด หากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้นี้ เราอาจไม่สามารถวัดผลเพื่อการปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้ดีขึ้นได้ รายละเอียดคุกกี้